Page 229 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 229

นนทรี
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    นกกระจิบ                                               พบที่พม่าและคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้
                    Aristolochia dinghoui F. González & Poncy           ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                    วงศ์ Aristolochiaceae                               นกนอน
                       ไม้ล้มลุก โคนแข็งเป็นเนื้อไม้ ตั้งตรงหรือห้อยลง มีขนสั้นนุ่มตามล�าต้น แผ่นใบ  Cleistanthus tomentosus Hance
                    ทั้งสองด้าน และก้านใบ ใบรูปไข่ รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 6-12 ซม. โคนรูป
                    หัวใจ ก้านใบยาว 3-6 มม. ช่อดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับรูปไข่หรือรูปขอบขนาน   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 ม. มีขนหยาบตามกิ่งอ่อน ขนสั้นนุ่มตามใบประดับ ก้านใบ
                    ยาว 2-3 มม. ก้านดอกยาว 2-3 มม. ดอกสีน�้าตาลอมแดง กระเปาะกลมหรือรูปไข่   และแผ่นใบด้านล่าง หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 3-6 มม. ใบรูปขอบขนาน ยาว
                    ยาว 4-5 มม. หลอดกลีบงอเล็กน้อย ยาวประมาณ 8 มม. ปลายบาน ยาว 1.2-1.5 ซม.   5-15.5 ซม. ก้านใบยาว 5-7 มม. ดอกออกเป็นกระจุก สีเขียวอ่อน ไร้ก้านหรือมีก้าน
                    เส้าเกสร ยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรเพศเมียรูปกรวย จัก 6 พู ผลรูปไข่ มี 6 สัน   สั้น ๆ ใบประดับรูปไข่ ยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาว 2-4.5 มม. ใน
                    ยาว 1.2-1.6 ซม. ก้านยาว 6-8 มม. เมล็ดรูปหัวใจ ยาวประมาณ 2 มม. ผิวมีตุ่ม   ดอกเพศเมียยาวได้ถึง 8 มม. กลีบดอกบาง รูปพัด ยาวประมาณ 1 มม. มีติ่งแหลม
                    (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระเช้าสีดา, สกุล)            จานฐานดอกเรียบหรือจักมน เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศเมียที่เป็นหมัน
                                                                        รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 0.5 มม. ผลแห้งแตก มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตาม  ประมาณ 9 มม. ก้านผลยาวประมาณ 5 มม.
                    เขาหินปูนที่แห้งแล้ง ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร เคยวิเคราะห์ว่าเป็นชนิด
                    A. harmandiana Pierre ex Lecomte ซึ่งพบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน  พบที่จีนตอนใต้ กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออก และ
                                                                        ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
                      เอกสารอ้างอิง
                       González, F. and O. Poncy. (1999). A new species of Aristolochia (Aristolo-  เอกสารอ้างอิง
                          chiaceae). Brittonia 51: 452-456.                Li, B. and S. Dressler. (2008). Euphorbiaceae (Cleistanthus). In Flora of China
                       Phuphathanaphong, L. (1987). Aristolochiaceae (Aristolochia harmandiana   Vol. 11: 172-173.
                          Pierre ex Lecomte). In Flora of Thailand Vol. 5(1): 10.  Roisungnern, K. and K. Chayamarit. (2005). Euphorbiaceae (Cleistanthus). In
                                                                              Flora of Thailand Vol. 8(1): 167-182.


















                      นกกระจิบ: ถิ่นที่อยู่ขึ้นเป็นกอตามหินปูน ตั้งขึ้นหรือห้อยลง ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ผลแห้งแตกโคนก้าน
                    และปลายผลติดกันคล้ายกระเช้า (ภาพ: สามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ - RP)  นกนอน: C. helferi ดอกออกเป็นกระจุก ไร้ก้าน กิ่งอ่อนและก้านใบมีขนหยาบ ผลจัก 3 พู (ภาพซ้ายและภาพขวาบน:
                                                                        ศรีพังงา พังงา - RP); นกนอน: C. tomentosus ก้านผลยาว (ภาพขวาล่าง: น�้าตกพลิ้ว จันทบุรี - NP)
                    นกนอน, สกุล                                         นนทรี, สกุล
                    Cleistanthus Hook. f. ex Planch.                    Peltophorum (Vogel) Benth.
                    วงศ์ Phyllanthaceae                                 วงศ์ Fabaceae
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น ใบเรียงเวียนหรือเกือบตรงข้าม
                    ดอกออกเป็นกระจุกหรือเป็นช่อสั้น ๆ ตามซอกใบ หรือตามกิ่ง ใบประดับขนาดเล็ก  ไม้ต้น ใบประกอบ 2 ชั้น ใบประกอบย่อยและใบย่อยเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบ
                    มีหลายใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกส่วนมากมี 5 กลีบ ดอกเพศผู้คล้ายดอกเพศเมีย   ช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง มีใบประดับแต่ไม่มีใบประดับย่อย ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยง
                    กลีบดอกขนาดเล็กกว่ากลีบเลี้ยง จานฐานดอกเป็นวง เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณู  มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กัน มีก้านกลีบสั้น ๆ
                    เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง เกสรเพศเมียเป็นหมันในดอกเพศผู้ เรียวยาว รังไข่มี   เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน ก้านชูอับเรณูมีกระจุกขนยาวที่โคน รังไข่ไร้ก้านหรือ
                    3 ช่อง ก้านชูอับเรณูสั้น ยอดเกสรเพศเมียมี 3 แฉก ปลายแฉกจัก 2 พู ผลแห้งแตก   มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรรูปโล่ ฝักรูปขอบขนานหรือ
                    รูปกลม ๆ มี 3 พู แกนกลางติดทน มี 1-2 เมล็ดในแต่ละซีก รูปไข่แกมสามเหลี่ยม  รูปใบหอก แบน ขอบบางคล้ายมีปีก มี 1-8 เมล็ด
                       สกุล Cleistanthus เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae มีประมาณ 140 ชนิด   สกุล Peltophorum อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เคยอยู่ภายใต้สกุล
                       พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 15 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก   Caesalpinia sect. Peltophorum Vogel มี 12-15 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกา
                       “kleistos” ใกล้ และ “anthos” ดอก หมายถึงดอกออกใกล้กันเป็นกระจุก  และแอฟริกา ในไทยมี 2 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “pelte” คุ้ม และ “phoros”
                                                                           ที่รองรับ ตามลักษณะยอดเกสรเพศเมียแผ่กว้าง
                    นกนอน
                    Cleistanthus helferi Hook. f.                       นนทรี
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนหยาบตามกิ่งอ่อน ก้านใบ เส้นแขนงใบ   Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer ex K. Heyne
                    และเส้นกลางใบ มีขนสั้นนุ่มตามใบประดับ กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และผล   ชื่อพ้อง Inga pterocarpa DC.
                    หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 5-6 มม. ขอบมีขน ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่   ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. มีขนสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และ
                    ยาว 2-17 ซม. โคนใบมน ก้านใบยาว 3-5 มม. ดอกออกเป็นกระจุก 1-6 ดอก   กลีบเลี้ยงด้านนอก หูใบยาว 1-2 มม. ใบประกอบยาว 25-30 ซม. ใบประกอบย่อย
                    สีเขียวอ่อน ไร้ก้าน ใบประดับรูปไข่ ยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 0.4-1 ซม.   มี 4-13 คู่ ใบย่อยมี 10-22 คู่ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 1.2-1.8 ซม. ปลายกลม
                    กลีบดอกบาง จักลึก 2-3 พู ยาวประมาณ 1.5 มม. ขอบจัก จานฐานดอกจักเป็นพู   เว้าตื้น โคนเบี้ยว แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มด้านล่าง ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออก
                    เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 2.5 มม. ผลแห้งแตก มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.   ที่ปลายกิ่ง ยาว 20-40 ซม. ใบประดับยาว 5-8 มม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 5-7 มม.

                                                                                                                    209






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   209                                                                 3/1/16   5:30 PM
   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234