Page 228 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 228

ธนนไชย
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พบที่พม่า ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ตาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ยาวประมาณ 3 มม. รังไข่มีขนหนาแน่น ผลแบบผนังชั้นในแข็ง กลมหรือคล้าย
                ที่เลย และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เกาะตามหินปูน   รูปหัวใจ แบนด้านข้าง กว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผลแก่สีชมพู
                ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร                            เปลี่ยนเป็นด�า มีเมล็ดเดียว แข็ง

                  เอกสารอ้างอิง                                        พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้
                   Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae in   ขึ้นตามป่าเต็งรังโปร่ง ๆ ความสูง 50-300 เมตร
                      Flora of Thailand Vol. 10(4): 475-675.
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 274-276.

















                  ไทรใบขน: แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได figs มีขนหนาแน่น ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ
                ช่องเปิดมีใบประดับขนาดใหญ่ (ภาพ: ถนนตาก-แม่สอด - RP)
                                                                      ธนนไชย: ใบเรียงเวียนหนาแน่นตามปลายกิ่ง ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ผลรูปกลม แบนด้านข้าง ผลแก่สีชมพู
                                                                     (ภาพ: ประจวบคีรีขันธ์; ภาพซ้ายและขวาบน - PK, ภาพขวาล่าง - RP)
                                                                     ธูปฤาษี
                                                                     Typha angustifolia L.
                                                                     วงศ์ Typhaceae
                                                                       ไม้ล้มลุก สูง 1.5-3 ม. มีเหง้าแตกแขนง ล�าต้นแข็ง ใบออกจากโคนล�าต้น
                                                                     มีกาบใบ เรียงเวียนในระนาบเดียวกัน รูปแถบ ยาว 50-120 ซม. แผ่นใบเว้า
                                                                     ใกล้เส้นกลางใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด รูปทรงกระบอก ช่วงดอกเพศผู้ยาว 8-40 ซม.
                                                                     เส้นผ่านศูนย์กลางช่อ 2-7 มม. ใบประดับ 1-3 ใบ ร่วงเร็ว ช่วงดอกเพศเมียยาว
                  ไทรย้อย: แผ่นใบหนา เกลี้ยง เส้นแขนงใบเรียงขนานกัน figs ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ไร้ก้าน (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                     5-30 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางช่อ 0.6-2 ซม. แยกออกจากส่วนดอกเพศผู้ด้วย
                                                                     ก้านช่อดอกที่เป็นหมัน ยาว 2.5-7 ซม. ดอกขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยง
                                                                     เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 3 อัน มีขนล้อมรอบ ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูยาว 1.5-2 มม.
                                                                     ดอกเพศเมียมีใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย รังไข่รูปกระสวย ก้านเรียว ยาวประมาณ
                                                                     5 มม. มีขนยาว ติดทน อันที่เป็นหมันไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเป็นหลอดยาว
                                                                     1-1.5 มม. มีขนสั้น ยอดเกสรรูปแถบ ผลขนาดเล็ก รูปรี ห้อยลง มีริ้ว
                                                                       พบในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามหนองน�้าหรือทะเลสาบ
                  ไทรย้อยใบทู่: แผ่นใบหนา เส้นโคนใบ 1 คู่ figs ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ แก่สีชมพู (ภาพ: ถ�้าพระขยางค์ ระนอง - RP)  ใบใช้สานเสื่อหรือตะกร้า ช่อดอกแห้งใช้ประดับ ในจีนอับเรณูและล�าต้นใช้รักษา
                                                                     โรคทางเดินปัสสาวะ ส่วนของล�าต้นช่วยเพิ่มน�้านมในสตรีหลังคลอด

                                                                       สกุล Typha L. เป็นสกุลเดียวของวงศ์ อยู่ภายใต้อันดับ Poales มีประมาณ 16 ชนิด
                                                                       ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “typhos” ที่ชื้นแฉะ ตามลักษณะ
                                                                       ถิ่นที่อยู่
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Simpson, D.A. (2008). Typhaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(2): 176-178.
                                                                       Wee, Y.C. and H. Keng. (1990). An illustrated dictionary of Chinese medicinal
                  ไทรหิน: ขอบใบจักมน เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ figs ออกเดี่ยวๆ สีเหลือง แก่สีชมพูอมแดง รูเปิดขอบหนา
                มีขนกระจาย (ภาพ: พบพระ ตาก - RP)                          herbs. Times Edition Pte Ltd., Time Centre, Singapore.
                ธนนไชย
                Buchanania siamensis Miq.
                วงศ์ Anacardiaceae

                   ไม้ต้น สูง 5-10 ม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ
                และช่อดอก ใบเรียงเวียนหนาแน่นตามปลายกิ่ง รูปไข่กลับหรือรูปใบพาย ยาว
                4-8 ซม. ปลายมนหรือเว้าตื้น ๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-5 มม. ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง
                ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามซอกใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาวหรืออมเหลือง ยาว
                3-5 มม. ก้านดอกยาว 1.5-3 มม. ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                รูปรีกว้าง กว้างประมาณ 2.5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 3-5 มม.   ธูปฤๅษี: ถิ่นที่อยู่ ขึ้นหนาแน่นตามหนองน�้าที่เปิดโล่ง ช่อดอกเพศผู้อยู่ช่วงบนช่อ ช่อดอกเพศเมียแยกออกจากส่วน
                เรียงซ้อนเหลื่อม จานฐานดอกรูปถ้วย จัก 10 พู เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูอับเรณู  ดอกเพศผู้ด้วยก้านช่อดอกที่เป็นหมัน ขนยาวติดทน (ภาพ: บุรีรัมย์; ภาพซ้าย - PK, ภาพกลางและภาพขวา - RP)

                208






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   208                                                                 3/1/16   5:30 PM
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233