Page 231 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 231

นมวัว      สารานุกรมพืชในประเทศไทย  นวลชมพู
                                                                        Uvaria dulcis Dunal
                                                                        วงศ์ Annonaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Anomianthus dulcis (Dunal) J. Sinclair
                                                                           ไม้พุ่มมีไหลหรือไม้เถาเนื้อแข็ง อาจยาวได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน
                                                                        เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ใบรูปรี รูปขอบขนาน
                                                                        หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 10-14 ซม. ก้านใบยาว 3.5-5 มม. ช่อดอกออกตามซอกใบ
                                                                        หรือปลายกิ่ง มีหนึ่งหรือหลายดอก ก้านช่อยาว 0.5-1 ซม. ก้านดอกยาว 1-2.5 ซม.
                      นมแมว: มีขนกระจุกสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน ช่อดอกออกตรงข้ามใบ มี 1-3 ดอก กลีบเลี้ยงหนา ดอกสี  ใบประดับรูปไข่กว้าง ยาว 2-3 มม. ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ยาว 3-3.5 มม.
                    เหลืองนวล กลีบดอกวงในแคบกว่าเล็กน้อย เกลี้ยง ผลรูปรีกว้าง (ภาพ: สุรินทร์ - PK)
                                                                        ดอกสีครีมอมชมพู กลีบรูปไข่กลับ ยาว 2-2.2 ซม. วงในขนาดเท่า ๆ หรือเล็กกว่า
                                                                        วงนอกเล็กน้อย โคนด้านในเกลี้ยง มีต่อม 2 ต่อม เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.5 มม.
                                                                        มีประมาณ 25 คาร์เพล มีขนสั้นนุ่ม ผลย่อยมี 10-15 ผล รูปรี ยาว 1-1.5 ซม.
                                                                        สุกสีแดง มี 1-8 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กล้วยพังพอน, สกุล)
                                                                           พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ชวา หมู่เกาะซุนดาน้อยและโมลุกกะ ในไทยพบ
                                                                        แทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงถึง
                                                                        ประมาณ 700 เมตร
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Meade, C.V. (2000). A systematic revision of the Uvaria L. group (Annonaceae) in
                                                                              continental Asia. PhD. Thesis, Trinity College, University of Dublin, Ireland.



                      นมแมวป่า: มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน ก้านใบ และก้านดอก ช่อดอกออกตรงข้ามใบ มีดอกเดียว กลีบเลี้ยงหนา
                    รูปไข่กว้าง ดอกสีเหลืองนวล กลีบวงในแคบกว่าเล็กน้อย ผลย่อยจ�านวนมาก (ภาพ: อ�านาจเจริญ - PK)
                    นมโมลี
                    Hoya fusca Wall.
                    วงศ์ Apocynaceae
                       ไม้เถาเกาะเลื้อย ยาว 2-3 ม. มีรากตามข้อ ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานถึง
                    รูปใบหอก ยาว 10-18 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบเรียง
                    จรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-2.5 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม ออกตามปลายกิ่ง
                    หรือซอกใบ ก้านช่อยาว 1.5-3 ซม. ก้านดอกยาว 2-2.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                    รูปรี ยาว 1.5-2 มม. ปลายมน ดอกสีเหลืองปนน�้าตาล มี 5 กลีบ รูปไข่ มีขนละเอียด
                    ด้านใน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. กะบังจัก 5 พู ตื้น ๆ แนบติด
                    เส้าเกสรด้านบน ด้านในมีหางโค้ง ยาวเท่า ๆ ยอดอับเรณู เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกัน
                    ปลายอับเรณูแนบติดยอดเกสรเพศเมีย ผลแตกแนวเดียว รูปแถบ ยาว 13-20 ซม.
                    เมล็ดเรียว ยาวประมาณ 5 มม. ปลายมีกระจุกขน ยาวประมาณ 3 ซม.
                       พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีน พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทาง
                    ภาคเหนือที่เชียงใหม่ น่าน และภาคกลางที่เขาใหญ่ จังหวัดนครนายก ขึ้นตามคบไม้
                    ในป่าดิบเขาหรือบนเขาหินปูน ความสูง 1000-2000 เมตร     นมวัว: ช่อดอกออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง มีหนึ่งหรือหลายดอก ก้านดอกยาว กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง
                                                                        ขนาดเท่า ๆ กัน โคนด้านในของกลีบวงในเกลี้ยง มีต่อม 2 ต่อม ผลกลุ่ม มีขนสั้นนุ่ม สุกสีแดง (ภาพดอก: แม่สอด ตาก - PK;
                       สกุล Hoya R. Br. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Asclepiadaceae ปัจจุบันอยู่ภายใต้  ภาพผล: ลี้ ล�าพูน - RP)
                       วงศ์ย่อย Asclepiadoideae มีมากกว่า 100 ชนิด ในไทยมีมากกว่า 35 ชนิด   นวลชมพู
                       และเป็นไม้ประดับอีกหลายชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ   Rhodoleia championii Hook. f.
                       Thomas Hoy (1750-1822)
                                                                        วงศ์ Hamamelidaceae
                      เอกสารอ้างอิง
                       Li, B., M.G. Gilbert and W.D. Stevens. (1995). Asclepiadaceae. In Flora of   ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ล�าต้นและกิ่งมีช่องอากาศ ใบเรียงเวียน รูปไข่ ยาว 4-12 ซม.
                          China Vol. 16: 228, 231.                      เส้นแขนงใบเรียงจรดกัน แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบสีแดง ยาว 0.8-4 ซม.
                                                                        ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกตามซอกใบ ห้อยลง ล้อมรอบด้วยวงใบประดับ
                                                                        ใบประดับรูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 0.3-1.5 ซม. วงนอกใหญ่กว่า
                                                                        วงใน ด้านนอกมีขนสั้นหนานุ่มสีน�้าตาล กลีบเลี้ยงไม่พัฒนา ดอกสีแดงอมชมพู
                                                                        กลีบดอกมีเฉพาะดอกที่อยู่วงนอก แต่ละดอกย่อยมี 1-4 กลีบใน หรือไม่มี รูปใบพาย
                                                                        ยาว 1.2-1.8 ซม. เกสรเพศผู้ 6-11 อัน ก้านชูอับเรณู ยาว 1-1.5 ซม. อับเรณูมี 4 พู
                                                                        รังไข่ติดกึ่งใต้วงกลีบ เกลี้ยง เกสรเพศเมีย 2 อัน ผลแห้งแตกเป็นกระจุกแน่น กลม
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. เมล็ดรูปรี ยาว 3-5 มม. เมล็ดที่สมบูรณ์มีปีกแคบ ๆ
                                                                           พบที่จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบทาง
                                                                        ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และภาคใต้ที่นราธิวาส ขึ้น
                      นมโมลี: ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน ปลายยาวคล้ายหาง แผ่นใบหนา ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม (ภาพ: ดอยภูคา น่าน - RP)  ตามพื้นที่ทดแทนในป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร

                                                                                                                     211






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   211                                                                 3/1/16   5:31 PM
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236