Page 235 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 235

นางอั้วสาคริก                                                  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  น�้าเต้าผี
                    Pecteilis hawkesiana (King & Pantl.) C. S. Kumar
                    วงศ์ Orchidaceae
                      ชื่อพ้อง Habenaria hawkesiana King & Pantl., Pecteilis sagarikii Seidenf.
                       กล้วยไม้ดิน หัวใต้ดินรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. ใบเรียงเวียน
                    ที่โคนมี 2-6 ใบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3-15 ซม. ปลายใบมีติ่งแหลม แกนช่อดอก
                                                                          น�้าใจใคร่: ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบดอก 2 กลีบแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง พับงอกลับ ดูคล้ายมี 5 กลีบ
                    ยาว 2-17 ซม. ก้านช่อยาว 6-9 ซม. มีได้ถึง 17 ดอก ใบประดับยาว 1-6.5 ซม.   เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน ผลมีกลีบเลี้ยงที่ขยายหุ้ม (ภาพ: บ้านถ�้าธง ชุมพร - RP)
                    ดอกสีขาวหรือเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงบนรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบคู่ข้าง
                    รูปขอบขนาน บิดเล็กน้อย ยาวเท่า ๆ กลีบบน กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว   น้ำาดับไฟ
                    1.7-2 ซม. กลีบปากรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม ยาว 1.8-2.5 ซม. มีสีเหลืองแต้ม  Microchirita involucrata (Craib) Yin Z. Wang
                    ด้านใน เดือยรูปกระบอง ยาว 3.5-4.5 ซม. เส้าเกสรยาว 0.7-1 ซม. รังไข่รวม  วงศ์ Gesneriaceae
                    ก้านดอกยาว 1.4-2.8 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ นางอั้ว, สกุล)  ชื่อพ้อง Chirita involucrata Craib
                       พบที่พม่า ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 45 ซม. มีขนและขนต่อมหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก
                    ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร         ก้านดอก กลีบเลี้ยงทั้งสองด้าน และกลีบดอกด้านนอก ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว
                                                                        4-9 ซม. ปลายแหลม โคนมนหรือเว้าตื้น มักเบี้ยว เส้นแขนงใบข้างละ 6-8 เส้น
                      เอกสารอ้างอิง
                       Pedersen, H.Æ. (2011). Orchidaceae (Pecteilis). In Flora of Thailand Vol. 12(1): 217.  ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ไม่เชื่อมติดก้านใบ มี 1-6 ดอก ก้านช่อ
                                                                        ยาว 2-10 ซม. ใบประดับคล้ายใบ เรียงตรงข้าม ไม่เชื่อมติดกัน รูปรีหรือรูปไข่
                                                                        ยาว 2-5 ซม. ก้านดอกส่วนมากยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 7-8 มม.
                                                                        ดอกรูปแตร สีม่วงเข้ม โคนสีอ่อนหรือขาว ยาวประมาณ 2 ซม. ปากหลอดกลีบ
                                                                        ดอกกว้างประมาณ 7 มม. ก้านชูอับเรณูหนา ยาวประมาณ 4.5 มม. อับเรณูมีขน
                                                                        สั้นนุ่ม รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. มีขนต่อมหนาแน่น ฝักเกลี้ยง
                                                                        รูปแถบ ปลายโค้ง ยาว 3.5-6 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หยาดเนตร, สกุล)
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้
                                                                        ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามหินปูนหรือดินที่ชุ่มชื้น ความสูงถึงประมาณ
                                                                        700 เมตร
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Wood, D. (1974). A revision of Chirita (Gesneriaceae). Notes from the Royal
                                                                              Botanic Garden Edinburgh Vol. 33(1): 199-200.


                      นางอั้วสาคริก: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ใบประดับรูปเรือ กลีบปากรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม มีสีเหลืองแต้มด้านใน
                    เดือยรูปกระบอง (ภาพซ้าย: มุกดาหาร - RP; ภาพขวา: cultivated - OP)
                    น้ำาใจใคร่
                    Olax scandens Roxb.
                    วงศ์ Olacaceae
                      ชื่อพ้อง Olax psittacorum (Lam.) Vahl
                       ไม้พุ่มรอเลื้อย ล�าต้นมักมีหนามสั้น ๆ กิ่งอ่อนมีขน ใบเรียงสลับระนาบเดียว
                    รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2-9.5 ซม. แผ่นใบส่วนมากมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน   น�้าดับไฟ: มีขนและขนต่อมทั่วไป ใบประดับคล้ายใบ เรียงตรงข้าม ไม่เชื่อมติดกัน ก้านช่อและก้านดอกยาว ฝักเกลี้ยง
                    ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือแยกแขนงสั้น ๆ ตามซอกใบ มี   (ภาพ: ธารโต ยะลา - MP)
                    1-3 ช่อ ยาว 0.5-3.5 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 1-2 มม.   น้ำาเต้าผี
                    กลีบเลี้ยงเชื่อมกันที่โคน ปลายแยก 4-5 แฉกไม่ชัดเจน ยาวประมาณ 1 มม. ขยาย
                    ในผล กลีบดอก 3 กลีบ สีขาวครีม รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวเกือบ 1 ซม. 2 กลีบ  Alsomitra macrocarpa (Blume) M. Roem.
                    หรือทั้ัง 3 กลีบแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง พับงอกลับ ดูคล้ายมี 5 หรือ 6 กลีบ   วงศ์ Cucurbitaceae
                    เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน อับเรณูแฉกลึก รังไข่เกลี้ยง   ชื่อพ้อง Zanonia macrocarpa Blume
                    ก้านเกสรเพศเมียรูปทรงกระบอกสั้น หรือยาว 5-6 มม. ยอดเกสรเพศเมียจัก 3 พู  ไม้เถาขนาดใหญ่ แยกเพศต่างต้น ยาวได้ถึง 50 ม. มือจับยาว 6-10 ซม. ปลาย
                    ไม่ชัดเจน ผลสดผนังชั้นในแข็ง รูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1-1.5 ซม. สุกสีเหลืองหรือ  แยก 2 แฉก ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือรูปรี ยาว 8-16 ซม. โคนกลมหรือเว้าตื้น ๆ
                    อมส้ม กลีบเลี้ยงหุ้มเกินกึ่งหนึ่ง                   เส้นโคนใบ 3-5 เส้น ก้านใบยาว 2-4 ซม. ใบอ่อนขนาดเล็ก ช่อดอกเพศผู้แบบ
                       พบที่มาดากัสการ์ อินเดียรวมหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ ศรีลังกา บังกลาเทศ   ช่อแยกแขนง ยาว 5-15 ซม. ก้านช่อยาว 1-2 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม.
                    พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค   กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ รูปรี กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 5 มม.
                                                                        กลีบดอกยาว 6-8 มม. ปลายกลีบมีปุ่มกระจาย กลางดอกมักมีรยางค์สั้น ๆ 3 อัน
                    ขึ้นตามชายป่า ที่โล่ง ใกล้ชายฝั่งทะเล ความสูงระดับต�่า ๆ ชนิด O. psittacorum   เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนขอบฐานดอก ก้านชูอับเรณูยาว 2-2.5 มม. ถุงอับเรณู
                    (Lam.) Vahl เป็นชื่อพ้องตาม Catalogue of Life (October 2015) เปลือกและราก  มีขนปุ่ม ช่อดอกเพศเมียลดรูปคล้ายช่อกระจะสั้น ๆ มี 5-10 ดอก ดอกใหญ่กว่า
                    แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ไข้ ผลแก้ตาอักเสบ         ดอกเพศผู้เล็กน้อย รังไข่ใต้วงกลีบประมาณสามส่วนสี่ ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน สั้น ๆ
                                                                        ยอดเกสรยาว 3-4 มม. ปลายแฉกลึก 2 แฉก ผลแห้งแตก กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
                       สกุล Olax L. มีประมาณ 40 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน   20-30 ซม. ปลายมีฝาเปิด 3 ฝา ข้างในมีชั้นฟองน�้านุ่ม เมล็ดเรียงหนาแน่น แบน
                       “olax” หรือ “olacis” กลิ่น หมายถึงพืชบางชนิดในสกุลนี้มีกลิ่น
                                                                        ยาว 2.5-3 ซม. มีปีกบางทั้งสองข้างคล้ายปีกผีเสื้อ กว้าง 10-12 ซม.
                      เอกสารอ้างอิง                                        พบในภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบทางภาคใต้ที่คลองพนม
                       Sleumer, H. (1984). Olacaceae. In Flora Malesiana Vol. 10: 6-9.  จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขึ้นตามเขาหินปูน ในป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 100 เมตร


                                                                                                                    215






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   215                                                                 3/1/16   5:44 PM
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240