Page 239 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 239

พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์   โนรา  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  โนรีเกาะช้าง
                    ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร ทั้งต้นมี  Hiptage benghalensis (L.) Kurz
                    สรรพคุณแก้ปวดเมื่อยตามร่างกายจากสภาวะตกเลือด          ชื่อพ้อง Banisteria benghalensis L.

                                                                           ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเลื้อย ใบรูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 5-18 ซม.
                    เนียมรากหอม                                         ปลายใบส่วนมากแหลมยาว แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาว 0.3-1.3 ซม.
                    Salomonia ciliata (L.) DC.                          ช่อดอกยาว 4-30 ซม. ก้านช่อสั้นหรือยาวได้ถึง 4 ซม. ก้านดอกยาว 0.8-2 ซม.
                      ชื่อพ้อง Polygala ciliata L.                      ขยายในผล มีข้อประมาณกึ่งกลางก้านดอก กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 2.5 มม.
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. บางครั้งแตกกิ่ง ล�าต้นเป็นเหลี่ยม เกลี้ยงหรือมี  มี 1 กลีบที่มีต่อม ต่อมยาว 2-4 มม. เรียวจรดก้านดอก ดอกสีขาวมีปื้นสีเหลือง
                    ขนประปราย ใบรูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ใบช่วงล่างบางครั้งกลม   ด้านใน กลีบรูปขอบขนานหรือกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 มม. เกสรเพศผู้อันยาว
                    ยาว 0.4-1.2 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว มีติ่งแหลม ขอบมีขนครุย โคนกลม  ยาวประมาณ 1.2 ซม. อันสั้นยาว 3-6 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม.
                    หรือแหลม ไร้ก้านหรือมีก้านยาวประมาณ 0.5 มม. ช่อดอกยาว 1-8 ซม. ใบประดับ  ผลมีขนสั้นคล้ายไหม ปีกกลางรูปขอบขนาน ยาว 3-6 ซม. ปีกข้างยาว 1.5-3 ซม.
                    ยาว 0.8-1.4 มม. ดอกสีชมพูหรือขาว กลีบเลี้ยงยาว 0.8-1.4 มม. กลีบดอกยาว   มีสันนูนหรือมีปีกด้านหลังสั้น ๆ ยาว 5-8 มม.
                    1.8-2.3 มม. ผลยาว 1.5-2 มม. ผิวเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ขอบมีแถบขนคล้าย  พบที่อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม
                    หนาม 5-9 อัน ยาว 0.3-0.7 มม.                        ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่งทะเล หรือเขาหินปูน
                       พบที่ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ญี่ปุ่น ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย   ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร เคยแยกเป็น subsp. candicans (Hook. f.)
                    นิวกีนี และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ที่โล่งที่ชื้นแฉะ ความสูงถึง  Sirirugsa เป็นไม้ต้น แผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น ปัจจุบันมีสถานะเป็น H.
                    ประมาณ 1300 เมตร                                    candicans Hook. f. ใบและดอกแก้ไข้ แก้ร้อนใน อาการอักเสบ และโรคผิวหนัง

                      เอกสารอ้างอิง                                     โนรี, สกุล
                       Chen, S.K., H. Ma and J.A.N. Parnell. (2008). Polygalacece. In Flora of China
                          Vol. 11: 158                                  Hiptage Gaertn.
                       Pendry, C.A. (2001). Polygalaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 520-524.
                                                                        วงศ์ Malpighiaceae
                                                                           ไม้เถาเนื้อแข็ง ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น หูใบขนาดเล็ก ใบเรียงตรงข้าม โคนใบส่วน
                                                                        มากมีต่อม 2 ต่อม แผ่นใบด้านล่างมักมีต่อมกระจาย เส้นแขนงใบเรียงจรดกัน
                                                                        ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อย
                                                                        ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม มีต่อมขนาดใหญ่ 1 หรือ 2 ต่อม
                                                                        บางครั้งไม่ชัดเจน กลีบดอกสมมาตรด้านข้าง มี 5 กลีบ มีก้านกลีบสั้น ๆ ขอบ
                                                                        จักชายครุย ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 10 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ยาวไม่
                                                                        เท่ากัน อันยาวที่สุด 1 อัน รังไข่จัก 3 พู มีรยางค์ 3-5 อัน มีขนปกคลุม ก้านเกสร
                                                                        เพศเมียโค้งงอ ผลแยกแล้วแตก มี 1-3 ซีก แต่ละซีกมีปีก 3 ปีก

                                                                           สกุล Hiptage อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Malpighioideae มีประมาณ 30 ชนิด ส่วน
                                                                           มากพบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมีประมาณ 10 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                           “hiptamai” บิน ตามลักษณะของผลที่มีปีก
                      เนียมต้นปีก: ล�าต้นมีริ้ว ขอบใบมีขนครุย ไร้ก้านหรือก้านสั้น ผลขอบมีแถบขนคล้ายหนาม 5-9 อัน (ภาพซ้าย:
                    มุกดาหาร - PK); เนียมไทย: ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ปลายแหลมยาว ไร้ก้าน ขอบผลมีแถบขนคล้ายหนาม 5-8 อัน    โนรี
                    (ภาพขวา: ผาแต้ม อุบลราชธานี - PK)
                                                                        Hiptage lucida Pierre
                                                                           ไม้เถา กิ่งมีช่องอากาศ ตามข้อมีขนสีขาวกระจาย ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน
                                                                        ยาว 5.5-12 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลม ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอก
                                                                        ยาวได้ถึง 15 ซม. ก้านช่อยาวประมาณ 2 ซม. ก้านดอกยาว 1-2.2 ซม. เป็นข้อ
                                                                        ประมาณใต้จุดกึ่งกลาง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 2.5 มม. ด้านนอกมีต่อม
                                                                        ขนาดเล็กไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูอมขาว กลีบรูปไข่กลับกว้าง เกสรเพศผู้อันยาว
                                                                        ยาว 8-9 มม. อันสั้นยาว 3-5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. ติดทน
                                                                        ผลเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ปีกกลางรูปขอบขนาน ยาว 3-4.5 ซม. ปลายมน
                                                                        หรือเว้าตื้น ปีกข้างยาว 1.5-2.2 ซม.
                      เนียมนกเขา: ล�าต้นแตกกิ่ง มี 3 ปีก เกลี้ยง ใบรูปสามเหลี่ยมกว้าง โคนตัด ผลขอบมีแถบขนคล้ายหนาม 4-14 อัน   พบที่เวียดนามตอนใต้ และกัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตาม
                    (ภาพซ้าย: นครพนม, ภาพขวา: ตาก; - PK)                ป่าดิบแล้งใกล้ชายฝั่งทะเล ความสูงไม่เกิน 100 เมตร หรือพบเป็นไม้ประดับ

                                                                        โนรีเกาะช้าง
                                                                        Hiptage monopteryx Sirirugsa
                                                                           ไม้เถา ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 6.5-13 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลม
                                                                        ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกยาว 2-5 ซม. มีขนสีน�้าตาล ผลสีน�้าตาล ปีกกลาง
                                                                        รูปขอบขนาน ยาว 3-4 ซม. ปลายแยกเป็น 2 แฉก ไม่เท่ากัน ปลายมน ปีกข้าง
                                                                        ยาวประมาณ 5 มม. ปีกด้านบนขนาดเล็กเป็นสัน ก้านผลยาว 1.2-1.5 ซม. มีติ่ง
                                                                        ตรงจุดกึ่งกลาง
                      เนียมรากหอม: ล�าต้นเป็นเหลี่ยม เกลี้ยงหรือมีขนประปราย ใบรูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ขอบมีขนครุย   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่เกาะช้าง จังหวัดตราด
                    ดอกบางครั้งมีสีขาว (ภาพ: แม่เมย ตาก - RP)           และเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ

                                                                                                                    219






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   219                                                                 3/1/16   5:45 PM
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244