Page 241 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 241

พบที่พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ส่วนมาก  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  บอนเปรี้ยว
                    ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร

                       สกุล Hapaline Schott มี 8 ชนิด พบที่พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน
                       คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ในไทยมี 4 ชนิด คล้ายสกุล Typhonium ที่่ไม่มี
                       น้ำายางใส ช่วงดอกเพศเมียรูปกรวย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “hapalos” อ่อนโยน
                       อาจหมายถึงลักษณะวิสัยของพืชที่มีขนาดเล็ก ดูอ่อนโยน
                      เอกสารอ้างอิง
                       Boyce, P.C. and D. Sookchaloem. (2012). Araceae (Hapaline). In Flora of
                          Thailand Vol. 11(2): 237-240.                   บอนเต่าก้นปิด: ออกดอกก่อนผลิใบใหม่ ใบแบบก้นปิด กาบรูปเรือ ช่อดอกสั้นกว่ากาบ กาบรูปเรือ ปลายอับเรณูเชื่อม
                                                                        ติดกัน ดอกเพศเมียอยู่ด้านล่าง ยอดเกสรเพศเมียสีเหลือง มี 4-6 แฉก ผลมี 4-6 เหลี่ยม (ภาพ: ท่าสองยาง ตาก - PK)
                                                                        บอนแบ้ว
                                                                        Typhonium roxburghii Schott
                                                                        วงศ์ Araceae
                                                                           ไม้ล้มลุก สูง 10-40 ซม. มีหัวใต้ดินกลม ใบรูปสามเหลี่ยมคล้ายไตหรือแยก
                                                                        3 พู ยาว 5-17 ซม. ก้านใบยาว 10-35 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ ออกหลัง
                                                                        ผลิใบ มีกลิ่นเหม็น ก้านช่อยาว 2-9 ซม. กาบยาว 8-18 ซม. กาบล่างรูปไข่ ยาว
                                                                        2-3.5 ซม. ด้านในสีม่วงอมน�้าตาลแดง ด้านนอกสีน�้าตาลอมเขียว โคนบิดม้วน
                                                                        โอบรอบช่อ ปลายกาบคอดเรียวยาว บิดเวียนเล็กน้อย ยาว 6-15 ซม. ช่อดอกยาว
                                                                        เท่า ๆ กาบล่าง ช่วงดอกเพศผู้ยาว 0.7-1.2 ซม. ดอกเพศผู้จ�านวนมาก เกสรเพศผู้
                                                                        2-3 อัน สีเหลืองครีม อับเรณูไร้ก้าน ช่องเปิดที่ปลาย ปลายช่อเป็นรยางค์รูปกรวย
                                                                        สีม่วงอมน�้าตาลเข้ม ยาว 12-15 ซม. โคนเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. ช่วงดอกเพศเมีย
                                                                        ยาวประมาณ 5 มม. รังไข่สีขาวครีม ยอดเกสรเพศเมียสีม่วง ช่วงที่เป็นหมันยาว
                      บอนเต่า: ใบรูปเงี่ยงลูกศร บางครั้งมีรอยด่าง ก้านใบและก้านช่อดอกยาว ผลเรียงเป็นแถว มีกาบหุ้ม ผลแก่สีขาว
                    (ภาพ: ล�าปาง - RP)                                  1.5-2.2 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันหนาแน่น โค้งลง สีครีมหรือเหลืองอ่อน ยาว
                                                                        ประมาณ 8-9 มม. ช่อผลมีโคนกาบหุ้ม ช่อแก่กาบเปิดออก ผลสดมีเมล็ดเดียว
                    บอนเต่าก้นปิด                                       รูปรีหรือรูปไข่ ผลแก่สีขาว
                    Ariopsis protanthera N. E. Br.                         พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น ภูมิภาคอินโดจีน
                    วงศ์ Araceae                                        และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งหรือเขาหินปูน
                       ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ล�าต้นกลมคล้ายหัวใต้ดิน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม.   ความสูงระดับต�่า ๆ
                    น�้ายางสีขาว มีใบเดียวแบบก้นปิด รูปหัวใจแกมรูปไข่ ยาว 5-10 ซม. แผ่นใบ
                    ด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 6-14 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ 1-3 ช่อ ก้านช่อ  สกุล Typhonium Schott มีประมาณ 100 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน
                    ยาว 4-5 ซม. กาบรูปเรือ สีเหลืองครีมอมชมพู ยาว 2-2.5 ซม. ช่อดอกสั้นกว่ากาบ   นิวกินี และออสเตรเลีย ในไทยมี 32 ชนิด ในจำานวนนี้เป็นพืชถิ่นเดียวถึง 24 ชนิด
                                                                           หรือกว่าร้อยละ 75 ซึ่งบางชนิดอาจถูกย้ายไปอยู่ในสกุล Sauromatum ชื่อสกุล
                    ช่วงดอกเพศผู้สีม่วงอมชมพู รูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1 ซม. ดอกเรียงหนาแน่น   มาจากภาษากรีก “typhonios” หมายถึงพืชที่มีกลิ่นหอมคล้ายลาเวนเดอร์
                    อับเรณูรูปโล่ ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน ปลายอับเรณูเชื่อมติดกัน ดอกเพศเมียอยู่
                    ด้านล่างแนบติดกาบ ยาวประมาณ 5 มม. รังไข่รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ยาวประมาณ   เอกสารอ้างอิง
                    3 มม. ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก ยอดเกสรสีเหลือง มี 4-6 แฉก บานออก ติดทน   Hetterscheid, W.L.A. and D. Sookchaloem. (2012). Araceae (Typhonium). In
                    ผลมี 4-6 เหลี่ยม ยาวประมาณ 5 มม.                          Flora of Thailand Vol. 11(2): 314-315.
                       พบที่อินเดีย พม่า ในไทยพบทางภาคเหนือที่ตาก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                    ที่บึงกาฬ ขึ้นตามหินปูนหรือหินทรายใต้ร่มเงาในป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง
                    ความสูงไม่เกิน 300 เมตร

                       สกุล Ariopsis Nimmo มี 2 ชนิด A. peltata Nimmo พบที่อินเดีย ชื่อสกุลมา
                       จากภาษากรีก “aris” หรือ “aron” สกุล Arum และ “opsis” คล้าย หมายถึง
                       คล้ายพืชในสกุล Arum ส่วนคำาระบุชนิด “protanthera” มาจากลักษณะการ
                       ออกดอกก่อนผลิใบใหม่ (proteranthus)

                      เอกสารอ้างอิง
                       Boyce, P.C. (2009). Ariopsis (Araceae: Colocasieae) a new generic record for   บอนแบ้ว: ใบรูปสามเหลี่ยม ปลายกาบคอดเรียวยาว บิดเวียนเล็กน้อย ช่อผลมีโคนกาบหุ้ม (ภาพ: สระบุรี - RP)
                          Thailand & preliminary observations on trans-Himalayan biogeography in
                          Araceae. Thai Forest Bulletin (Botany) 37: 9-14.  บอนเปรี้ยว
                       ________. (2012). Araceae (Ariopsis). In Flora of Thailand Vol. 11(2): 198-199.  Remusatia pumila (D. Don) H. Li & A. Hay
                                                                        วงศ์ Araceae
                                                                          ชื่อพ้อง Caladium pumilum D. Don, Remusatia garrettii Gagnep.
                                                                           ไม้ล้มลุก อิงอาศัยหรือขึ้นบนดิน สูงได้ถึง 25 ซม. หัวใต้ดินเส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                        1-2.5 ซม. มีไหลหน่อย่อย ส่วนมากแยกแขนง หน่อย่อยมีเกล็ดหุ้มและขนแข็ง
                                                                        รูปตะขอ ใบมี 3-4 ใบ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 8-23 ซม. โคนใบแบบก้นปิด
                                                                        รูปหัวใจตื้น ๆ แผ่นใบบางครั้งมีลายสีม่วง เส้นโคนใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบยาว
                                                                        15-40 ซม. โคนมีกาบ ช่อดอกส่วนมากมีช่อเดียว ออกพร้อมผลิใบ ก้านช่อยาว
                                                                        6-10 ซม. คอดเว้า 2 ครั้ง หลอดกาบยาว 1-1.5 ซม. ปากบานออก กาบยาว
                                                                        13-21 ซม. กาบล่างกลม ๆ ยาว 1.5-2.5 ซม. เปิดออกช่วงเกสรเพศผู้ ปลายเรียวแหลม

                                                                                                                    221






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   221                                                                 3/1/16   5:46 PM
   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246