Page 238 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 238

นีออน นีออน         สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Leucophyllum frutescens (Berland.) I. M. Johnst.
                วงศ์ Scrophulariaceae
                  ชื่อพ้อง Terania frutescens Berland.
                   ไม้พุ่ม กิ่งมีขนสั้นนุ่ม ใบเรียงเวียนหรือเกือบตรงข้าม รูปไข่กลับกว้างหรือ
                แกมรูปขอบขนาน ยาว 1-3.5 ซม. แผ่นใบมีขนสั้นนุ่ม ด้านล่างสีเทาเงิน ด้านบน
                สีเขียวอ่อน ก้านใบยาว 1-2 มม. ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ มีดอกเดียว ไม่มี  เน่าใน: ปลายใบแหลมยาว ขอบจักฟันเลื่อย ผลสีแดงสด (ภาพ: แม่สอด-อุ้มผาง ตาก - PK)
                ใบประดับ กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 5 กลีบ แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง รูปขอบขนานหรือ  เนียมต้นปีก
                รูปใบหอก ยาว 3-5 มม. ดอกรูประฆัง สีชมพูอมม่วง หลอดกลีบดอกไม่ชัดเจน   Salomonia longiciliata Kurz
                ยาว 1.8-2.6 ซม. กลีบรูปปากเปิด มีขนสั้นนุ่ม กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ
                ด้านในมีจุดสีน�้าตาลกระจาย เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก รังไข่มี   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. บางครั้งแตกกิ่ง ล�าต้นมีริ้วเป็นเหลี่ยมหรือมี 3 ปีก
                2 ช่อง ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู ผลแห้งแตก              เกลี้ยง ใบรูปไข่ รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 0.6-1.5 ซม. ใบที่โคน
                   มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเหนือ และเม็กซิโก เป็นไม้ประดับทั่วไป ใบและกิ่งใช้  ส่วนมากกลม ปลายและโคนแหลมหรือกลม ขอบมีขนครุย ไร้ก้านหรือมีก้านยาว
                รักษาโรคตับอักเสบ โดยการแช่อาบ                       ประมาณ 1 มม. ช่อดอกยาว 1-6 ซม. ใบประดับยาว 0.9-1.4 มม. ดอกสีชมพู
                                                                     อมม่วง กลีบเลี้ยงยาว 0.8-1.7 มม. กลีบดอกยาว 1.8-2.5 มม. ผลยาว 1.5-2 มม.
                   สกุล Leucophyllum Humb. & Bonpl. มีประมาณ 15 ชนิด พบในอเมริกาและ  ผิวช่วงล่างมีรยางค์คล้ายหนาม และมีขนประปราย ขอบมีแถบขนคล้ายหนาม
                   เม็กซิโก ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “leukos” สีขาว และ “phyllon” ใบ ตามลักษณะ  5-9 อัน ยาว 0.2-0.9 มม.
                   แผ่นใบมีสีขาว                                       พบที่พม่า กัมพูชา เวียดนาม บอร์เนียว และฟิลิปปินส์ ในไทยพบกระจายห่าง ๆ
                                                                     ทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะ ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
                  เอกสารอ้างอิง
                   Henrickson, J. and G.L. Nesom. (2012). Leucophyllum (Scrophulariaceae). Flora
                      of North America. http://floranorthamerica.org/  เนียมไทย
                                                                     Salomonia thailandica H. Koyama
                                                                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. บางครั้งแตกกิ่ง ล�าต้นมีริ้วเป็นเหลี่ยม เกลี้ยง ใบรูปรี
                                                                     ถึงรูปใบหอก ยาวได้ถึง 1 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลมมน ไร้ก้าน ช่อดอกยาว
                                                                     ได้ถึง 10 ซม. ใบประดับยาว 0.7-1.2 มม. กลีบเลี้ยงยาว 0.6-1 มม. ดอกสีชมพู
                                                                     อมม่วง กลีบดอกยาว 2.5-3.5 มม. ผลยาว 2-2.2 มม. ผิวช่วงล่างมีรยางค์คล้ายหนาม
                                                                     และขนประปราย ขอบมีแถบขนคล้ายหนาม 5-8 อัน ยาว 1.3-2 มม.
                                                                       พบที่กัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตาม
                                                                     ทุ่งหญ้าที่เป็นหินทราย ความสูง 150-500 เมตร
                  นีออน: แผ่นใบมีขนสั้นนุ่ม ด้านล่างสีเทาเงิน ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ มีดอกเดียว ดอกรูประฆัง หลอดกลีบ
                ไม่ชัดเจน กลีบรูปปากเปิด กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ด้านในมีจุดสีน�้าตาลกระจาย (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)  เนียมนกเขา, สกุล
                เน่าใน                                               Salomonia Lour.
                Ilex micrococca Maxim.                               วงศ์ Polygalaceae
                วงศ์ Aquifoliaceae                                     ไม้ล้มลุก รากมีกลิ่นหอม กิ่งเป็นเหลี่ยมหรือมีปีก ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบ
                                                                     ช่อเชิงลด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กัน เชื่อมติดกันที่โคน ติดทน กลีบดอก 3 กลีบ
                   ไม้ต้น สูง 10-20 ม. แยกเพศต่างต้น กิ่งมีช่องอากาศ หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก   ขนาดไม่เท่ากัน กลีบบน 2 กลีบ เชื่อมติดกลีบล่างประมาณกึ่งหนึ่ง กลีบล่างรูปเรือ
                ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 7-13 ซม. ปลายแหลมยาว ขอบจัก  หุ้มเกสรเพศผู้และเพศเมีย เกสรเพศผู้มี 4-6 อัน เชื่อมติดกันเป็นแผ่นหุ้มยอด
                ฟันเลื่อยหรือเกือบเรียบ ก้านใบยาว 1.5-3.2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง   เกสรเพศเมีย รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียโค้ง ผลแห้งแตก ขอบมีแนวขน 2 แนว
                แต่ละช่อแยกแขนงมี 3-4 ช่อย่อย ก้านช่อยาวประมาณ 1 ซม. ก้านดอกยาว 2-3 ซม.   ผิวเกลี้ยง เป็นร่างแห มีขนหรือรยางค์คล้ายหนาม แต่ละช่องมีเมล็ดเดียว ไม่มีเยื่อหุ้ม
                ใบประดับย่อยรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวน
                อย่างละ 5-6 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปจาน แฉกตื้น ๆ กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ   สกุล Salomonia คล้ายกับสกุล Polygala กลีบเลี้ยงขนาดไม่เท่ากัน คู่ในไม่ขยาย
                1.5 มม. โคนเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้ 5-6 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบดอก รังไข่เป็นหมัน   เป็นแผ่นคล้ายกลีบดอก มี 5 ชนิด พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 6-8 กลีบ กลีบเลี้ยงแฉกลึก   และมาเลเซีย ถึงออสเตรเลีย ในไทยพบทั้ง 5 ชนิด ชนิด S. kradungensis H.
                ติดทน กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาว  Koyama คล้ายกับเนียมนกเขา แต่ใบไร้ก้าน และผลมีผิวเป็นรยางค์คล้ายหนาม
                ประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียรูปจาน ติดทน ผล  พบที่ลาว และภูกระดึง จังหวัดเลย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “salos” อารมณ์
                ผนังชั้นในแข็ง กลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. สีแดงสด มี 6-8 ไพรีน  ที่ไม่มั่นคง และ “monos” เดี่ยว ๆ อาจหมายถึงกลิ่นหอมของราก หรือตั้งตาม
                   พบที่จีนตอนใต้ ไต้หวัน ไห่หนาน เวียดนาม และญี่ปุ่น ในไทยพบเฉพาะทาง  Salomon (Solomon) กษัตริย์ของอิสราเอล ช่วง 937-973 ปีีก่อนคริสต์ศักราช
                ภาคเหนือที่เชียงใหม่ เชียงราย ตาก ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่แก่งกระจาน จังหวัด
                เพชรบุรี และภาคใต้ที่พังงา ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูง   เนียมนกเขา
                500-1700 เมตร                                        Salomonia cantoniensis Lour.

                   สกุล Ilex L. มี 500-600 ชนิด พบในเขตร้อน และเขตอบอุ่น ในไทยมีประมาณ   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. แตกกิ่งจ�านวนมาก ล�าต้นมี 3 ปีก เกลี้ยง ใบรูป
                   16 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินที่ใช้เรียก Ilex aquifolium L. หรือ holly ที่ผลมีสี  สามเหลี่ยมกว้าง โคนตัดหรือรูปหัวใจ ยาว 1-2.5 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ก้านใบยาว
                   แดง และยังหมายถึง Quercus ilex L. หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร  1-3 มม. ช่อดอกยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับยาว 0.6-1 มม. ดอกส่วนมากสีชมพู
                                                                     อมม่วง กลีบเลี้ยงยาว 0.4-0.6 มม. กลีบดอกยาว 1.8-2.5 มม. ผลยาว 1.5-2.2 มม.
                  เอกสารอ้างอิง                                      ผิวมีร่างแห บางครั้งมีขนประปราย ขอบมีแถบขนคล้ายหนาม 4-14 อัน ตรงหรือ
                   Chen, S.K., H. Ma, Y. Feng, G. Barriera and P. Loizeau. (2008). Aquifoliaceae.   เป็นตะขอ ยาว 0.1-0.7 มม.
                      In Flora of China Vol. 11: 434.

                218






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   218                                                                 3/1/16   5:45 PM
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243