Page 242 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 242

บัวค�ำ
                                     สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                  ยาว 11-21 ซม. เปิดออกช่วงสั้น ๆ ช่อดอกสั้นกว่ากาบมาก ยาว 2-2.5 ซม.   บัวแฉก
                  ช่วงดอกเพศผู้รูปกระบอง ยาวประมาณ 1 ซม. สีเหลืองครีมเปลี่ยนเป็นสีม่วงอมเทา   Dipteris conjugata Reinw.
                  ช่วงของดอกเพศเมีย ยาว 5-8 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันเรียงเป็นวง ยาว 4-5 มม.
                  ผลกลุ่มทรงรี มีกาบหุ้ม ผลย่อยสุกสีแดง เมล็ดมีเยื่อหุ้มหนา   วงศ์ Dipteridaceae
                    พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบมากทางภาคเหนือ  เฟินขึ้นบนดิน มีเหง้าทอดเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. มีขนยาว
                  ที่เชียงราย เชียงใหม่ ล�าปาง ตาก ขึ้นตามโขดหินหรือบนดินที่เป็นหินปูนในป่าดิบเขา   คล้ายเกล็ดหนาแน่น ยาว 4-5 มม. ใบเดี่ยวเรียงห่าง ๆ กว้างได้ถึง 70 ซม. ยาวได้ถึง
                  ความสูงถึงประมาณ 2200 เมตร                          50 ซม. แยก 2 แฉกเกือบจรดโคนเท่า ๆ กัน รูปพัด แต่ละแฉกจักลึกเกินกึ่ง
                                                                      หนึ่งประมาณ 4 แฉกย่อยไม่เท่ากัน แต่ละแฉกย่อยจักลึกไม่เป็นระเบียบ 1-3 แฉก
                    สกุล Remusatia Schott มี 4 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย และ  ปลายแฉกเรียวแหลมคล้ายหาง เส้นแขนงใบแตกเป็นง่ามหลายครั้ง เส้นแขนงใบ
                    ออสเตรเลีย ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ ว่านสุบิน R. vivipara (Roxb.) Schott   ย่อยเรียงจรดกัน แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาวได้ถึง 2 ม. ด้านบนเป็นร่อง
                    ช่อดอกคอดครั้งเดียว ไหลหน่อย่อยไม่แยกแขนง การกระจายกว้างกว่า ชื่อสกุล  ตามร่องมีขนสั้นคล้ายเกล็ดหนาแน่น โคนมีขนแข็งสีน�้าตาลด�า กลุ่มอับสปอร์รูปกลม
                    ตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Jean-Pierre Abel-Rémusat (1788-1832)  เรียงกระจายทั่วแผ่นใบด้านล่าง ไม่มีเยื่อหุ้ม มีเส้นแทรกรูปกระบอง
                   เอกสารอ้างอิง                                        พบที่ไห่หนาน ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย
                    Boyce, P.C. and D. Sookchaloem. (2012). Araceae (Remusatia). In Flora of   ในไทยพบทางภาคใต้ตั้งแต่สุราษฎร์ธานีลงไป ขึ้นตามที่โล่งในป่าดิบเขา ความสูง
                       Thailand Vol. 11(2): 264-267.                  มากกว่า 1000 เมตร
                                                                        สกุล Dipteris Reinw. มี 8 ชนิด พบในเอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว
                                                                        ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “di” สอง และ “pteris” เฟิน หมายถึงเฟินที่ใบแยก
                                                                        เป็นสองส่วน เป็น 1 ใน 2 สกุลของเฟินวงศ์ Dipteridaceae

                                                                       เอกสารอ้างอิง
                                                                        Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                           Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                                                                        Xianchun, Z., M. Kato and H.P. Nooteboom. (2013). Dipteridaceae. In Flora of
                                                                           China Vol. 2-3: 116.






                   บอนเปรี้ยว: ไม้ล้มลุก อิงอาศัยหรือขึ้นบนพื้นดิน ออกดอกพร้อมใบ แผ่นใบมีลายสีม่วง มีไหลหน่อย่อย กาบช่อ
                  คอดเว้า 2 ครั้ง ช่วงดอกเพศผู้รูปกระบอง สีม่วงอมเทา (ภาพ: แม่ออน เชียงใหม่ - RP)
                  บัวคำา
                  Hypericum henryi H. Lév. & Vaniot subsp. hancockii N. Robson
                  วงศ์ Hypericaceae                                     บัวแฉก: ใบแยก 2 แฉกเกือบจรดโคน รูปพัด แต่ละแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง แฉกย่อยจักไม่เป็นระเบียบ เส้นแขนงใบแตก
                    ไม้พุ่มเตี้ย แตกกอ กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยมหรือมีริ้ว ใบรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก   เป็นง่ามหลายครั้ง แผ่นใบด้านล่างมีนวล กลุ่มอับสปอร์เรียงกระจายทั่วแผ่นใบ (ภาพ: เขาเหมน นครศรีธรรมราช - RP)
                  ยาว 1-4 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นแขนงใบข้างละ 2-4 เส้น ไม่มีเส้นขอบใน   บัวแฉกใบเล็ก
                  ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ช่อดอกมี 1-7 ดอก ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอก
                  ยาว 4-7 มม. ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-5 ซม. ตาดอกรูปไข่กว้าง กลีบเลี้ยง  Cheiropleuria bicuspis (Blume) C. Presl
                  ขนาดไม่เท่ากัน ขอบเรียบหรือจักซี่ฟัน รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 4-9 มม. มีต่อม  วงศ์ Dipteridaceae
                  กระจาย ดอกสีเหลือง กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1-2.5 ซม. ขอบมีเส้นต่อม เกสรเพศผู้  ชื่อพ้อง Polypodium bicuspe Blume
                  เชื่อมติดกัน 5 มัด ๆ ละ 30-60 อัน ยาว 0.5-1.3 ซม. รังไข่รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ   เฟินขึ้นบนดินหรืออิงอาศัย เหง้าทอดเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6-1 ซม. มี
                  3.5 มม. กว้างประมาณ 7 มม. พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียแยก   ขนนุ่มหลายเซลล์หนาแน่น ยาวประมาณ 5 มม. ไม่มีเกล็ด ใบเดี่ยวเรียงห่างกัน
                  5 แฉก โค้งออก ผลรูปไข่หรือรูปรีกว้างเกือบกลม ปลายแหลม ยาว 1-1.4 ซม.   ใบไม่สร้างสปอร์เรียงห่าง ๆ รูปไข่ กว้างได้ถึง 12 ซม. ยาวได้ถึง 30 ซม. ส่วนมาก
                  (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ บัวทอง, สกุล)                 แยก 2 แฉก ลึกได้ถึง 8 ซม. ปลายแฉกเรียวแหลมคล้ายหาง เส้นแขนงใบแตก
                    พบที่พม่า จีนตอนใต้ เวียดนามตอนบน และสุมาตรา ในไทยพบทางภาคเหนือ  เป็นง่ามหลายครั้ง เส้นแขนงใบย่อยเรียงจรดกัน แผ่นใบด้านล่างสีอ่อน ก้านใบ
                  ที่เชียงใหม่ เชียงราย ขึ้นตามป่าดิบเขาบนเขาหินปูน ความสูง 1300-2200 เมตร   ยาวได้ถึง 30 ซม. โคนมีขน ใบสร้างสปอร์เรียวแคบ รูปแถบ กว้างประมาณ 1.5 ซม.
                  ส่วน subsp. henryi และ subsp. uraloides (Rehder) N. Robson พบเฉพาะ  ยาวได้ถึง 15 ซม. ปลายและโคนเรียวแหลม มีเส้นแขนงใบ 3 เส้น กลุ่มอับสปอร์
                  ที่จีน และพม่า                                      เรียงกระจายทั่วแผ่นใบด้านล่าง มีเส้นแทรกรูปกระบอง
                   เอกสารอ้างอิง                                        พบที่จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทาง
                    Li, X.W. and N.K.B. Robson. (2007). Clusiaceae (Hypericum). In Flora of China.   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย และทางภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช ยะลา ขึ้นตาม
                       Vol. 13: 12-13.                                ป่าดิบเขา ความสูง 1000-1800 เมตร
                                                                        สกุล Cheiropleuria C. Presl เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Cheiropleuriaceae มี 3 ชนิด
                                                                        พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “cheir” มือ
                                                                        และ “pleura” หรือ “pleuron” ด้านข้าง หมายถึงใบที่คล้ายมือ

                                                                       เอกสารอ้างอิง
                                                                        Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                           Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                                                                        Xianchun, Z., M. Kato and H.P. Nooteboom. (2013). Dipteridaceae. In Flora of
                   บัวค�า: ไม้พุ่มเตี้ย แตกกอ ขึ้นบนหินปูน ใบเรียงตรงข้าม ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบดอก
                  5 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - MB)   China Vol. 2-3: 117.

                  222






         58-02-089_213-292_Ency_new5-3 i_Coated.indd   222                                                                 3/5/16   4:56 PM
   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247