Page 245 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 245
บัวเผื่อน: ใบเรียงเวียน กลีบเลี้ยงยาวกว่ากลีบดอก ดอกสีขาวหรือม่วง กลีบดอกเรียงซ้อนกันหลายวง ปลายแกน สารานุกรมพืชในประเทศไทย บัวหลวง
อับเรณูมีรยางค์ (ภาพ: cultivated - MP)
บัวสวรรค์
Gustavia superba (Kunth) O. Berg
วงศ์ Lecythidaceae
ชื่อพ้อง Pirigara superba Kunth บัวสาย: แผ่นใบลอยบนผิวน�้า ขอบจักแหลม ดอกบานชูพ้นน�้า (ภาพ: cultivated - RP)
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ
อาจยาวได้ถึง 1 ม. ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาวได้ถึง 11 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น บัวหลวง
สั้น ๆ ออกตามซอกใบ ก้านดอกยาวได้ถึง 8 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วยแบนขอบเรียบ Nelumbo nucifera Gaertn.
กว้างประมาณ 2.5 ซม. กลีบดอกสีขาวอมม่วงอ่อน มี 6-8 กลีบ รูปใบพาย ยาว วงศ์ Nelumbonaceae
ไม่เท่ากัน ยาวได้ถึง 7 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก โคนเชื่อมติดกันประมาณ
หนึ่งในสาม โค้งเข้า ยาวประมาณ 4 ซม. รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ไม้น�้าล้มลุก มีรากสะสมอาหาร เหง้าแยกแขนง (ไหลบัว) ใบแตกตามข้อ
ผลแห้งแตกแบบมีฝาปิด (pyxidia) กลม ปลายแบน กว้าง 7-10 ซม. ยาวได้ถึง ใบแก่อยู่เหนือผิวน�้า กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 25-90 ซม. ขอบเรียบ ผิวใบด้านบน
8 ซม. ผิวมีช่องอากาศกระจาย เมล็ดรูปร่างไม่แน่นอน ยาวประมาณ 6 ซม. มีไขเคลือบ เส้นแขนงใบออกจากโคน 25-30 เส้น ก้านใบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
1-1.5 ซม. ยาว 1-2 ม. ด้านในมีเส้นใยสีขาว ด้านนอกมีตุ่มกระจายหรือเกลี้ยง
มีถิ่นก�าเนิดในแถบประเทศคอสตาริกา โคลัมเบีย และปานามา เป็นไม้ประดับ ปลายก้านใบติดกับแผ่นใบแบบก้นปิดที่กลางใบ ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ
ทั่วไปในเขตร้อน ดอกตูมรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 ซม. ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 17-30 ซม.
ดอกบานช่วงกลางวัน สีขาวหรือชมพู ก้านดอกยาวกว่าก้านใบ กลีบรวมจ�านวนมาก
สกุล Gustavia L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Lecythidoideae มีประมาณ 40 ชนิด พบ วงนอกลดรูป รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 5-10 ซม. ฐานดอกรูปลูกข่าง เส้นผ่านศูนย์กลาง
เฉพาะในทวีปอเมริกา ในไทยพบเป็นไม้ประดับ อีกชนิด คือ G. gracillima Miers 5-10 ซม. สีเขียวอ่อน เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ติดที่โคนฐานดอก อับเรณูสีเหลือง
ใบเรียวแคบ กว้างไม่เกิน 3.5 ซม. ชื่อสกุลตั้งตาม Gustav ที่ 3 กษัตริย์ของ รูปแถบ ยาว 1-2 ซม. แกนอับเรณูปลายมีรยางค์รูปกระบอง ยาวได้ถึง 7 มม. อันที่
สวีเดน ที่ปกครองสวีเดนช่วงปี ค.ศ. 1771-1792 เป็นหมันคล้ายกลีบดอก รังไข่จ�านวนมากฝังในฐานดอก มีช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมีย
เอกสารอ้างอิง สั้น ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม สีเหลือง ผลกลุ่ม ผลย่อยคล้ายผลแบบเปลือกแข็ง
Croat, T.B. (1978). Gustavia superba. In Flora of Barro Colorado Island by แห้งไม่แตก รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม.
Smithsonian Institution. http://biogeodb.stri.si.edu/bioinformatics/croat/ พบในเอเชียเขตร้อน และออสเตรเลีย ขึ้นตามแหล่งน�้าที่โล่ง ความสูงระดับต�่า ๆ
specie/Gustavia superba,e,n
มีหลากสายพันธุ์ เรียกชื่อต่างกันไปตามลักษณะและสีของดอก เช่น บุณฑริก ดอกสีขาว
กลีบดอกลา พบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สัตตบุษย์ ดอกสีขาว กลีบดอกซ้อน
ปทุม ดอกสีชมพู ดอกตูมปลายเรียวแหลม กลีบดอกลา พบมากทางภาคกลาง
และภาคใต้ สัตตบงกช ดอกสีชมพู ดอกตูมรูปไข่กว้าง ปลายแหลม กลีบดอกลา
เป็นต้น ปลูกเป็นไม้ประดับหรือไม้ตัดดอก ฝัก เมล็ด รากบัว และไหลบัว กินได้
น�้าคั้นจากใบแก้บิด ท้องเสีย ฆ่าพยาธิ
สกุล Nelumbo Adans. เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มี 2 ชนิด N. lutea (Willd.) Pers.
บัวสวรรค์: ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กลีบดอกมี 6-8 กลีบ ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้ พบในอเมริกาเหนือ ชื่อสกุลมาจากภาษาสิงหล “nelumbu” ที่ใช้เรียกบัวหลวง
จ�านวนมาก โคนเชื่อมติดกัน โค้งเข้า ผลแห้งแตกแบบมีฝาปิด ผิวมีช่องอากาศ (ภาพ: cultivated - RP) ในศรีลังกา
บัวสาย เอกสารอ้างอิง
Nymphaea pubescens Willd. สุชาดา ศรีเพ็ญ. 2542. พรรณไม้น้ำาในประเทศไทย. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
กรุงเทพมหานคร.
วงศ์ Nymphaeaceae Fu, D. and J.H. Wiersema. (2001). Nelumbonaceae. In Flora of China Vol. 6: 114.
ชื่อพ้อง Nymphaea lotus L. var. pubescens (Willd.) Hook. f. & Thomson, N. rubra
Roxb. ex Salisb.
ไม้น�้าล้มลุก เหง้ามีก้านใบแห้งหุ้มหนาแน่น ใบรูปรีกว้างหรือกลม ยาว 14-28 ซม.
ขอบจักแหลม แผ่นใบด้านล่างมักมีสีม่วงอมแดง มีขนหนาแน่น ด้านบนมีขน
ประปราย ก้านใบยาวได้ถึง 1 ม. ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-20 ซม. บานตอน
กลางคืน ชูพ้นน�้า กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานยาว 3.5-8 ซม. ติดทน เส้นกลีบ 5-7 เส้น
ดอกสีขาว ชมพู แดง หรือสีม่วงมีลายสีแดง ส่วนมากมี 12-14 กลีบ รูปขอบขนาน
หรือแกมรูปไข่ ยาว 4-9 ซม. ปลายแกนอับเรณูไม่มีรยางค์ ปลายคาร์เพลมีรยางค์
รูปเส้นด้าย ผลรูปรีกว้าง ยาว 3.5-5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ บัวเผื่อน, สกุล)
พบที่ปากีสถาน อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี และออสเตรเลีย ก้านหรือสายบัวใช้ปรุงอาหาร
เอกสารอ้างอิง
Fu, D., J.H. Wiersema and D. Padgett. (2001). Nymphaeaceae. In Flora of บัวหลวง: หลากสายพันธุ์ ทั้งดอกสีชมพู ขาว หรือดอกซ้อน (ภาพซ้าย ปทุม: บึงบอระเพ็ด นครสวรรค์, ภาพขวาบน
China Vol. 6: 117. สัตตบงกช: cultivated, ภาพขวาล่าง สัตตบุษย์: cultivated; - MP)
225
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 225 3/1/16 5:47 PM