Page 250 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 250
บุกฤๅษี
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
บุก: ใบประกอบแยกแขนง โคนเป็นครีบเรียวจรดแกนกลางใบ กาบรูปไข่แกมสามเหลี่ยม รูปคล้ายเรือ ปลายแหลมยาว
โคนม้วนเข้า ปลายช่อเป็นรยางค์เรียวแคบ (ภาพ: สระบุรี - RP) บุกฤๅษี: ใบรูปฝ่ามือ 5-7 แฉก ใบประดับคล้ายใบ 2 คู่ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ดอกสีเขียวอมม่วง ไม่มีกลีบประดับ
รูปเส้นด้าย ผลสุกสีแดง (ภาพต้นและดอก: ทุ่งค่าย ตรัง - AM; ภาพผลอ่อน: กระบี่ - RP; ภาพผลสุก: นครศรีธรรมราช - RP)
บุนนาค
Mesua ferrea L.
วงศ์ Calophyllaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มรูปเจดีย์ เปลือกบาง น�้ายางมีกลิ่นหอม
ใบเรียงตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. ปลายใบแหลมยาวหรือยาว
คล้ายหาง แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 5-8 มม. เส้นแขนงใบย่อยจ�านวนมาก
เรียงขนานเบี้ยว ๆ ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง มักห้อยลง ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ
บุกคนโท: ก้านช่อสั้น กาบหนารูปสามเหลี่ยมกว้าง มีจุดสีขาวกระจาย ปลายช่อเป็นรยางค์รูปกระสวย (ภาพ: ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลม ๆ คู่นอกขนาด
ท่าสองยาง ตาก - RP)
ใหญ่กว่าคู่ในเล็กน้อย ขอบบาง ขยายในผล ดอกสีขาว มี 4 กลีบ รูปไข่กลับ
ยาว 3-3.5 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-2 ซม. รังไข่มี 2 ช่อง
ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 ซม. ยอดเกสรเบี้ยว ติดทน ผลรูปไข่ ยาวประมาณ
3 ซม. มีรอยย่นตามยาว แตกเป็น 2 ซีก ก้านยาว 0.8-1.2 ซม. มี 1-4 เมล็ด เบี้ยว
พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทรมลายู
บอร์เนียว ชวา และฟิลิปปินส์ ใบและดอกใช้ประคบแก้พิษงูและแมงป่อง ดอกมี
สรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง เมล็ดให้น�้ามันหอมระเหย
สกุล Mesua L. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Clusiaceae มี 5 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อ
สกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอาหรับ Joannes Mesue (777-857)
เอกสารอ้างอิง
Li, X.W., J. Li and P. Stevens. (2007). Clusiaceae (Mesua). In Flora of China
Vol. 13: 38.
บุกคางคก: หัวใต้ดินกลม แบน ๆ กาบรูประฆังกว้าง ขอบย่น ปลายช่อเป็นรยางค์รูปไข่ หรือรูปพีระมิด ช่อผลรูป
ทรงกระบอก ก้านช่อขยายยาว (ภาพช่อดอก: กาญจนบุรี, ภาพช่อผล: ทุ่งตะโก ชุมพร; - RP)
บุกฤาษี
Tacca palmata Blume
วงศ์ Dioscoreaceae
ไม้ล้มลุก มีเหง้า ใบรูปฝ่ามือ มี 5-7 แฉก แฉกรูปไข่กลับหรือรูปใบหอก
ปลายแหลม ยาว 10-20 ซม. โคนเรียวสอบจรดก้านใบ ก้านใบยาว 50-60 ซม.
ช่อดอกมี 1-2 ช่อ ยาว 50-60 ซม. แต่ละช่อมีได้ถึง 30 ดอก ใบประดับมี 2 คู่
เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก คู่นอกรูปไข่ ยาว 3-5 มม. คู่ในรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ บุนนาค: ใบเรียงตรงข้าม ห้อยลง ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก (ภาพ: เลย - MT)
ยาว 2-6 ซม. ไม่มีกลีบประดับรูปเส้นด้าย ดอกสีเขียวอมม่วงอ่อน ๆ กลีบรวม 6 กลีบ
เรียง 2 วง วงนอกรูปไข่ ยาว 2-6 มม. วงในรูปรี ยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน บุษบง
ปลายแผ่เป็นแผ่น ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรแยกเป็น 3 แฉก ผลสดมีหลายเมล็ด Boesenbergia pulcherrima (Wall.) Kuntze
รูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. สุกสีแดง เมล็ดคล้ายรูปพีระมิด ยาว 3-5 วงศ์ Zingiberaceae
มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ว่านค้างคาว, สกุล) ชื่อพ้อง Gastrochilus pulcherrimus Wall.
พบที่ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบกระจาย ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. เหง้าหนา แยกแขนง ด้านในสีขาวหรืออมเหลือง
ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น กาบใบยาวได้ถึง 18 ซม. มีริ้วละเอียด ลิ้นกาบยาวประมาณ 1.5 ซม. ใบรูปรี ยาว
ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาสมานและบรรเทาอาการปวดท้อง ได้ถึง 25 ซม. แผ่นใบด้านล่างบางครั้งมีปื้นสีม่วงอมแดง เกือบไร้ก้าน ช่อดอก
ท้องเสีย บิด ออกตามซอกกาบที่ยอด ช่อยาวได้ถึง 13 ซม. ก้านช่อยาวประมาณ 1 ซม. มีได้ถึง
เอกสารอ้างอิง 15 ดอก ใบประดับเรียงสองแถวด้านเดียว รูปรี ยาวประมาณ 5 ซม. ดอกสีขาว
Phengklai, C. (1993). Taccaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 7-9. หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 ซม. กลีบรูปรี ยาว 1-1.8 ซม. กลีบปากเป็นถุง
230
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 230 3/1/16 5:48 PM