Page 249 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 249

บ้าบน                                               บุก        สารานุกรมพืชในประเทศไทย  บุกคางคก
                    Entada reticulata Gagnep.                           Amorphophallus albispathus Hett.
                    วงศ์ Fabaceae                                          ไม้ล้มลุก หัวใต้ดินรูปกรวยแคบ มักแยกแขนง มี 1-2 ใบ ใบประกอบแยกแขนง
                       ไม้เถา ใบประกอบ 2 ชั้น เรียงเวียน ก้านใบประกอบยาว 1-1.5 ซม. แกนกลาง  เส้นผ่านศูนย์กลางยาวได้ถึง 90 ซม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 20-35 ซม.
                    ใบประกอบยาว 1.5-3 ซม. มีขนละเอียด ใบประกอบย่อยมี 2 คู่ ปลายมีมือเกาะ   ปลายแหลมยาว โคนเป็นครีบเรียวจรดแกนกลางใบ ก้านใบยาว 10-55 ซม. ก้านช่อดอก
                    ใบย่อยเรียงตรงข้าม 8-19 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 0.5-1.5 ซม. ปลายเว้าตื้นมีติ่งหนาม   ยาวได้ถึง 40 ซม. กาบรูปไข่แกมสามเหลี่ยม รูปคล้ายเรือ ตั้งขึ้น สีครีม มีจุดสีเขียวเทา
                    แผ่นใบมีขนก�ามะหยี่ทั้งสองด้าน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาว 5-12 ซม. มีขนละเอียด   และริ้วสีม่วงอ่อน ๆ โคนด้านในมีปุ่มคล้ายขนกระจาย กาบยาว 6-14 ซม.
                    ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย สีเขียวหรือสีน�้าตาลแดง ยาวประมาณ   ปลายแหลมยาว โคนม้วนเข้า ช่อดอกสั้นกว่ากาบเล็กน้อย ยาว 5-13 ซม. ไร้ก้าน
                    1 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบรูปสามเหลี่ยมตื้น ๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบหอกกลับ   ช่วงดอกเพศผู้ยาว 1.5-6.5 ซม. เกสรเพศผู้มี 2-4 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน หนา
                    ยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 5 มม.   ยาว 2-3 มม. ในดอกช่วงล่าง อับเรณูรูปครึ่งวงกลม ขนาดประมาณ 1 มม. ปลายช่อ
                    รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ฝักแบน คอดตามเมล็ด ยาว   เป็นรยางค์เรียวแคบ ยาว 2-8 ซม. ช่วงดอกเพศเมียยาว 1-2.3 ซม. รังไข่เป็นเหลี่ยม
                    4.5-13 ซม. เปลือกหนา มี 4-9 เมล็ด แบน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 มม.  กว้าง 3-4 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรจัก 3-4 พู แบน
                       พบในภูมิภาคอินโดจีน และภาคตะวันออกของไทยที่อุบลราชธานี ขึ้นตามที่  ช่อผลยาวประมาณ 6 ซม. ผลย่อยรูปไข่ ยาว 1.5-2 ซม. สุกสีแดง
                    โล่งบนหินทรายในป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคกลางที่สระบุรี ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และ
                    500 เมตร                                            ภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช พังงา ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูงระดับต�่า ๆ

                       สกุล Entada Adans.อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Mimosoideae เผ่า Mimoseae มีประมาณ   บุกคนโท
                       30 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ และเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อ
                       สกุลอาจมาจากภาษา Malabar ทางตอนใต้ของอินเดีย หรืออาจมาจากภาษา  Amorphophallus muelleri Blume
                       โปรตุเกส “dentado” จักซี่ฟัน ตามลักษณะหนามตามลำาต้นในบางชนิด  ไม้ล้มลุก หัวใต้ดินกลม แบน ๆ เส้นผ่านศูนย์กลางโตได้ถึง 28 ซม. ใบประกอบ
                                                                        แยกแขนง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.75-2 ม. ระหว่างก้านใบที่แยกแขนงมีหัวย่อย
                      เอกสารอ้างอิง
                       Chuakul, W. and I. Nielsen. (1998). Entada reticulata Gagnep. (Leguminosae-  แกนใบประกอบมีปีก ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 10-40 ซม. ปลายแหลมยาว
                          Mimosoideae), newly recorded for Thailand. Thai Forest Bullettin (Botany)   โคนเป็นครีบ ก้านใบยาว 0.4-1.8 ม. ก้านช่อยาว 30-60 ซม. กาบหนา รูปสามเหลี่ยม
                          26: 18-24.                                    กว้าง สีเขียวอมชมพู อมเหลือง หรือสีม่วงอมน�้าตาล มีจุดสีขาวกระจาย โคนด้านใน
                       Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae. In Flora of Thailand Vol. 4(2):   เกลี้ยงหรือมีปุ่มเล็ก ๆ กระจาย กาบยาว 7.5-32 ซม. ปลายแหลมยาว โคนม้วนเข้า
                          141-145.
                                                                        ขอบพับงอ ช่อดอกยาวกว่ากาบ ยาว 8-40 ซม. ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ ช่วงดอกเพศผู้
                                                                        ยาว 2-9 ซม. เกสรเพศผู้มี 3-5 อัน ก้านชูอับเรณูขนาดเท่า ๆ กัน ปลายช่อเป็นรยางค์
                                                                        รูปกระสวย ยาว 3-22 ซม. ช่วงดอกเพศเมียยาว 1.5-10 ซม. รังไข่แบน กว้าง
                                                                        3-3.5 มม. มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรกลมหรือเป็นเหลี่ยม แบน
                                                                        มีร่องตื้น ๆ ช่อผลรูปทรงกระบอก ผลย่อยรูปไข่ ยาว 1.2-1.8 ซม. สุกสีแดง
                                                                           พบที่หมู่เกาะอันดามันของอินเดีย พม่า ชวา และติมอร์ ในไทยพบทางภาค
                                                                        เหนือที่เชียงใหม่ ตาก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
                                                                        ความสูงระดับต�่า ๆ

                                                                        บุกคางคก
                                                                        Amorphophallus paeoniifolius (Dennst.) Nicolson
                                                                          ชื่อพ้อง Dracontium paeoniifolium Dennst.
                                                                           ไม้ล้มลุก หัวใต้ดินกลม แบน ๆ เส้นผ่านศูนย์กลางโตได้ถึง 50 ซม. ใบประกอบ
                      บ้าบน: ใบประกอบ 2 ชั้น ช่อดอกแบบช่อเชิงลด กลีบเลี้ยงรูปถ้วย สีเขียวหรือสีน�้าตาลแดง เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน
                    ฝักแบน คอดตามเมล็ด เปลือกหนา (ภาพ: ผาแต้ม อุบลราชธานี; ภาพซ้ายบน - NP; ภาพซ้ายล่าง - PK; ภาพขวา - RP)  แยกแขนง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.3-3 ม. แกนใบประกอบมีปีก ใบย่อยรูปรี ถึงรูปใบหอก
                                                                        หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-35 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบยาว 0.3-2 ม. มีตุ่มกระจาย
                    บุก, สกุล                                           ก้านช่อยาว 3-20 ซม. กาบรูประฆังกว้าง สีเขียวอมแดงถึงน�้าตาลเข้ม มีจุดสีอ่อน
                    Amorphophallus Blume                                กระจาย โคนด้านในมีตุ่มหนาแน่น กาบยาว 10-45 ซม. กว้าง 15-60 ซม. ขอบย่น
                    วงศ์ Araceae                                        โคนม้วนเข้า ช่อดอกสั้นหรือยาวกว่ากาบ ยาว 7-70 ซม. ไร้ก้าน ช่วงดอกเพศผู้
                                                                        ช่วงโคนยาว 2.5-15 ซม. ช่วงปลายยาว 1-20 ซม. เกสรเพศผู้มี 4-6 อัน ยาว 4-6 มม
                       ไม้ล้มลุกมีระยะพักตัวหรือไม่ทิ้งใบ ล�าต้นใต้ดินเป็นหัวขนาดใหญ่ รูปทรง  ปลายช่อเป็นรยางค์รูปไข่ กลม หรือรูปพีระมิด ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่วงดอกเพศเมีย
                    กระบอกหรือรูปกรวย ใบส่วนมากมีใบเดียว ส่วนมากจักลึกชั้นเดียวหรือสองชั้น   ยาว 3-25 ซม. รังไข่กลม แบน กว้าง 3-5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.3-1.5 ซม.
                    หรือแตกสองแขนง ก้านใบยาว ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ ส่วนมากออกเดี่ยว ๆ   ยอดเกสรรูปไข่แกมสามเหลี่ยม แบน ยาว 4-7 มม. จัก 2-3 พู ช่อผลรูปทรงกระบอก
                    โคนมีเกล็ดประดับ (cataphylls) ช่วงออกดอกมักทิ้งใบ ก้านช่อดอกคล้ายก้านใบ   ยาว 10-50 ซม. ก้านช่อขยายยาว 0.2-1 ม. ผลย่อยรูปรี ยาว 1.5-2 ซม. สุกสีแดง
                    ช่อดอกสั้นหรือยาวกว่ากาบ ช่วงดอกเพศผู้รูปทรงกระบอกหรือรูปกรวย อยู่ติดช่วง
                    ดอกเพศเมียหรือมีดอกที่เป็นหมันคั่น เกสรเพศผู้ 1-6 อัน แกนอับเรณูหนา อับเรณู  พบที่มาดากัสการ์ อินเดีย จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย
                    มีรูเปิดที่ปลายหรือด้านข้าง รังไข่เรียงหนาแน่น มี 1-4 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว   และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และ
                    ปลายช่อเป็นรยางค์ ส่วนมากเรียวยาว ที่โคนหรือทั้งช่อมีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน  ชายป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร ทั้งต้นมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
                    หนาแน่น ผลสด รูปรีหรือกลม เมล็ดรูปรี เปลือกบาง      หลายอย่าง ใช้เลี้ยงสัตว์ หัวใต้ดินมีแป้งใช้ปรุงอาหาร หัวและใบอาจท�าให้เกิด
                                                                        อาการคัน เป็นผื่นแดง
                       สกุล Amorphophallus อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Aroideae เผ่า Thomsonieae มี
                       ประมาณ 200 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชียเขตร้อน กึ่งเขตร้อน ออสเตรเลีย   เอกสารอ้างอิง
                                                                           Hetterscheid, W.L.A. (2012). Araceae (Amorphophallus). In Flora of Thailand
                       และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 58 ชนิด รวมถึงชนิดที่อาจแยกเป็นสกุล   Vol. 11(2): 130-186.
                       Pseudodracontium ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “amorphos” รูปร่างผิดปกติ และ   Li, H. and W.L.A. Hetterscheid. (2010). Araceae (Amorphophallus). In Flora of
                      “phallos” อวัยวะเพศชาย ตามลักษณะรูปร่างช่อดอก           China Vol. 23: 23, 30.

                                                                                                                    229






        58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd   229                                                                 3/1/16   5:48 PM
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254