Page 254 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 254
เบบี้ซันโรส
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
บุหรี่พระราม: N. plena มีขนกระจายตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก และก้านดอก ดอกเพศเมียมีหนึ่งหรือหลายดอก เบี้ยไม้: ใบเรียง 2 แถว ใบไม่สร้างสปอร์รูปรีหรือกลม มีขนกระจุกหนาแน่นด้านล่าง ไม่เห็นเส้นแขนงใบ
ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรจักเป็นพู บางครั้งมีผลเดียว (ภาพ: กาญจนบุรี - BD) ใบสร้างสปอร์รูปใบหอก กลุ่มอับสปอร์ติดด้านล่างทั่วแผ่นใบ มีขนกระจุกหนาแน่น (ภาพ: น�้าตกหม่อมจุ้ย พัทลุง - TP)
เบบี้ซันโรส เบื้อแดง
Mesembryanthemum cordifolium L. f. Euphorbia parviflora L.
วงศ์ Aizoaceae วงศ์ Euphorbiaceae
ชื่อพ้อง Aptenia cordifolia (L. f.) Schwantes ไม้ล้มลุกทอดเลื้อย สูงได้ถึง 65 ซม. ล�าต้นสีเขียวอมแดงหรือน�้าตาล มีขนประปราย
ไม้ล้มลุก อวบน�้า ล�าต้นเป็นเหลี่ยม ทอดเลื้อย ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก หูใบขนาดเล็ก ใบเรียงตรงข้ามห่าง ๆ รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-2.8 ซม. ปลายกลมหรือ
รูปไข่หรือรูปหัวใจ ยาว 1.5-6 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบหนาเป็น มีติ่งแหลม โคนเบี้ยวข้างหนึ่งรูปหัวใจ ขอบใบเรียบหรือจักฟันเลื่อย แผ่นใบมีขน
ร่องลึก ยาว 1-1.5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกสั้น หนา ดอกสีชมพูอมม่วงหรือแดง กระจายด้านล่าง เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาว 1.5-2 มม. ช่อดอกเรียงอัดแน่น
กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดเล็ก ไม่เท่ากัน กลีบดอกจ�านวนมากเชื่อมติดกันที่โคน แบบช่อกระจุกซ้อน ก้านช่อสั้น ใบประดับรูปแถบ ยาว 1-1.5 มม. มี 5-30 ช่อย่อย
ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก สีเหลือง วงนอก วงใบประดับรูปถ้วยสูงประมาณ 1 มม. ต่อมสีชมพู มีรยางค์เป็นแผ่นรูปรี รังไข่
เป็นหมัน รังไข่ใต้วงกลีบ เกสรเพศเมียไร้ก้าน ยอดเกสรแยก 4 แฉก ผลแห้งแตกเป็น มีขน ยอดเกสรยาวประมาณ 0.4 มม. ผลจัก 2-3 พู ยาว 1-1.5 มม. มีขนประปราย
4 ซีก มีเมล็ดเดียวในแต่ละซีก กลม ๆ แบน มีปุ่มกระจาย ก้านผลสั้น เมล็ดสีน�้าตาลอมเหลือง ยาวประมาณ 1 มม. มีริ้วตื้น ๆ 3 ริ้ว (ดูข้อมูล
มีถิ่นก�าเนิดที่แอฟริกาใต้ เป็นไม้ประดับคลุมดินทั่วไปในเขตร้อน เพิ่มเติมที่ น�้านมราชสีห์, สกุล)
พบที่ศรีลังกา อินเดีย เนปาล พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบขึ้นเป็น
สกุล Mesembryanthemum L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Aizooideae มีกว่า 100 ชนิด วัชพืช ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร เคยเข้าใจว่าเป็น E. hypericifolia L. ซึ่ง
พบมากในแอฟริกาใต้ คล้ายกับสกุล Aptenia ที่ผลไม่มีปีก ชื่อสกุลมาจากภาษา ส่วนต่าง ๆ เกลี้ยง พบเฉพาะในอเมริกาเขตร้อน
กรีก “mesembria” กลางวัน และ “anthemon” ดอก หมายถึงดอกบานช่วงกลางวัน
เอกสารอ้างอิง เบื้อนุ่ม
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum Euphorbia reniformis Blume
Press, Honolulu, Hawai`i.
ไม้ล้มลุกทอดเลื้อย ส่วนต่าง ๆ มีขนยาว ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่ ยาว
1-1.5 ซม. ปลายใบกลม โคนเบี้ยว เส้นโคนใบ 3-5 เส้น ก้านใบยาว 1.5-2.5 มม.
ช่อเรียงอัดกันแน่นแบบช่อกระจุกซ้อน ช่อปลายกิ่งก้านช่อสั้น ช่อตามซอกใบ
ก้านช่อยาว มี 5-15 ช่อ ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ 1 มม. วงใบประดับรูปถ้วย
สูงประมาณ 0.7 มม. มี 4 ต่อม สีชมพูหรือม่วง ต่อมมีรยางค์เป็นแผ่นรูปรีสีขาว
ขนาดเล็ก รังไข่มีขนยาวหนาแน่น ยอดเกสรยาวประมาณ 0.4 มม. ผลจัก 2-3 พู
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 มม. มีขนยาวหนาแน่น ก้านผลสั้น เมล็ดสีน�้าตาล
ผิวเรียบ ยาวประมาณ 1 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ น�้านมราชสีห์, สกุล)
เบบี้ซันโรส: ไม้ล้มลุกอวบน�้า ล�าต้นเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ก้านใบหนาเป็นร่อง ดอกออกเดี่ยว ๆ
กลีบดอกจ�านวนมากเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้วงนอกเป็นหมัน (ภาพ: cultivated - RP) พบที่ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยขึ้นเป็นวัชพืช ความสูงถึงประมาณ
เบี้ยไม้ 750 เมตร
Pyrrosia nummulariifolia (Sw.) Ching เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Polypodiaceae Esser, H.-J. (2005). Euphorbiaceae (Euphorbia). In Flora of Thailand Vol. 8(1):
279-280, 282-283.
ชื่อพ้อง Acrostichum nummulariifolium Sw.
เฟินเกาะอิงอาศัย เหง้าทอดเลื้อย เกล็ดสีน�้าตาลหนาแน่น รูปแถบ ยาว 3-6 มม.
ขอบเกล็ดมีขน ใบเรียง 2 แถว หนาแน่น ใบไม่สร้างสปอร์รูปรีหรือกลม ส่วนมาก
ยาว 1-2.5 ซม. ปลายกลม แผ่นใบหนา มีขนกระจุกประปรายด้านบน ขนหนาแน่น
ด้านล่าง ไม่เห็นเส้นแขนงใบ ก้านใบสั้นมาก หรือยาวได้ถึง 3 มม. โคนมีเกล็ด
ใบสร้างสปอร์รูปใบหอก ยาวได้ถึง 7 ซม. ปลายมนหรือกลม โคนเรียวแคบ ก้านใบ
ยาว 1-1.5 ซม. กลุ่มอับสปอร์มีก้าน ติดด้านล่างทั่วแผ่นใบ มีขนกระจุกหนาแน่น
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กีบม้าลม, สกุล)
พบที่อินเดีย ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทย
พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี และพบกระจายทางภาคใต้ ขึ้นตามคบไม้
หรือก้อนหินในป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ
เอกสารอ้างอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and เบื้อแดง: ล�าต้นมีสีเขียวอมแดงหรือน�้าตาล โคนใบเบี้ยว ช่อดอกเรียงอัดกันแน่นแบบช่อกระจุกซ้อน (ภาพซ้าย:
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/ ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK); เบื้อนุ่ม: ใบเรียงตรงข้าม ปลายใบกลม โคนเบี้ยว ช่อปลายกิ่งก้านช่อสั้น ช่อตามซอกใบ
ก้านช่อยาว ผลจัก 2-3 พู มีขนยาวหนาแน่น (ภาพขวา: พระพุทธบาท สระบุรี - RP)
234
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 234 3/1/16 5:49 PM