Page 247 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 247
บานบุรีหอม
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
บานบ่าย, สกุล สกุล Allamanda มีประมาณ 14 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกาเขตร้อน ในไทย
Operculina Silva Manso พบเป็นไม้ประดับ 3 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวิส Frederich
Allamand (1736-1803)
วงศ์ Convolvulaceae
ไม้เถาล้มลุก ใบเรียงเวียน เรียบหรือรูปฝ่ามือ ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตาม บานบุรีม่วง
ซอกใบ ใบประดับคล้ายใบ ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขยายในผล ดอกรูปแตร Allamanda blanchetii A. DC.
สีขาวหรือเหลือง ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ 5 แฉก ปลายแฉกจักดูคล้ายมี 10 กลีบ
กลางกลีบเป็นแถบ เกลี้ยงหรือมีขน เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณู ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย สูงได้ถึง 1.5 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบทั้งสองด้าน
บิดเวียน เรณูไม่มีเป็นหนาม จานฐานดอกเป็นวง รังไข่ 2 ช่อง มีออวุล 4 เม็ด ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก และกลีบเลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4-12 ซม.
ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรมี 2 พู กลม ผลแห้งแตกตามขวาง ฝาผนัง มีขนยาวตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ช่อดอกส่วนมากออกตาม
เชื่อมติดกัน ครึ่งบนบางใสคล้ายฝา ส่วนมากมี 4 เมล็ด ปลายกิ่ง ก้านดอกหนา ยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 1.5-2 ซม. ดอกสีม่วง
ยาว 6-9 ซม. หลอดกลีบช่วงล่างยาวประมาณ 1.5 ซม. ช่วงปลายที่บานออกยาว
สกุล Operculina มีประมาณ 15 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อน ในไทยมี 3 ชนิด อีก 5-6.5 ซม.
2 ชนิด คือ จิงจ้อเหลี่ยม O. turpethum (L.) Silva Manso ดอกสีขาว แถบกลางกลีบเกลี้ยง
และจิงจ้อตลับ O. riedeliana (Oliv.) Ooststr. กลีบเลี้ยงกลม ส่วนมากพบทางภาคใต้ มีถิ่นก�าเนิดที่บราซิล เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน บางครั้งดอกมีสีขาว
ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “operculum” ฝา ตามลักษณะของผล เอกสารอ้างอิง
Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 70-72.
บานบ่าย Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
Operculina petaloidea (Choisy) Ooststr.
ชื่อพ้อง Ipomoea petaloidea Choisy
ไม้เถาล้มลุก ล�าต้นเป็นริ้ว มีขนละเอียดใกล้ข้อ ใบที่โคนรูปไข่ ใบบนกิ่งรูป
ขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 5-18 ซม. โคนใบกลมหรือเว้าตื้น ก้านใบมีสันหรือปีก
แคบ ๆ ยาว 1.5-2.5 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1-2 ซม. มี 1-9 ดอก ใบประดับรูปใบหอก
ยาว 0.7-2 ซม. ร่วงเร็ว ก้านดอกหนา ยาว 1-1.8 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี คู่นอกยาว
1.3-1.5 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม 3 กลีบในกว้างกว่าเล็กน้อย ดอกสีครีมหรือ
เหลืองอ่อน ยาว 3.5-4 ซม. มีแถบขนกลางกลีบด้านนอก ก้านเกสรเพศผู้ยาว บานบุรีม่วง: ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน มีขนสั้นนุ่มทั่วไป ใบเรียงรอบข้อ 3-5 ใบ ดอกสีม่วง (ภาพ: cultivated - RP)
1.4-1.8 ซม. มีต่อมที่โคน ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลแห้งแตก
เป็นกระเปาะไม่ชัดเจน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. รูปไข่ สีด�า ยาว 5-6 มม. บานบุรีหอม
Odontadenia macrantha (Roem. & Schult.) Markgr.
พบที่อินเดีย พม่า กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือ
และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามชายป่าหรือริมล�าธาร ความสูง 200-1200 เมตร วงศ์ Apocynaceae
ชื่อพ้อง Odontadenia speciosa Benth., Echites macranthus Roem. & Schult.
เอกสารอ้างอิง
Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 451-453. ไม้เถา ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 7-35 ซม. ก้านใบยาว 1-3 ซม.
ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อน ก้านช่อยาว 1.8-11 ซม. ใบประดับรูปสามเหลี่ยม
ขนาดเล็ก ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาว 0.8-2.7 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 3-7 มม.
มีเกล็ดต่อมด้านใน ดอกรูปแตร สีครีมอมเหลือง มีปื้นสีส้มอ่อนแซม กลิ่นหอมแรง
ยาว 3-6 ซม. หลอดกลีบดอกช่วงโคนยาว 0.4-1 ซม. ช่วงบนยาว 0.8-1.6 ซม. มี
5 กลีบ รูปไข่กลับ เบี้ยว ยาว 2-4.5 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก
ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ รังไข่เกลี้ยง ผลเป็นฝักคู่ รูปทรงกระบอก กว้างได้ถึง 6 ซม.
ยาว 20-26 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก รูปกระสวย ยาว 3-4 ซม. ขนกระจุกจ�านวนมาก
ยาว 5.5-7 ซม.
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้แถบประเทศบราซิล ยางขาวมีพิษ
ท�าให้ผิวหนังปวดแสบปวดร้อนได้
สกุล Odontadenia Benth. มีประมาณ 20 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกากลางและ
บราซิล ในไทยพบเป็นไม้ประดับชนิดเดียว คล้ายกับสกุล Mandevilla ซึ่งใน
บานบ่าย: ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบเลี้ยงขนาดไม่เท่ากัน ดอกรูปแตร ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ ปลายแฉกจักดูคล้าย ไทยพบเป็นไม้ประดับ 2-3 ชนิด เช่น อมรเบิกฟ้า Mandevilla × amabilis (hort.
มี 10 กลีบ แถบด้านนอกมีขนยาว ผลมีกระเปาะไม่ชัดเจน (ภาพดอก: กาญจนบุรี - TP; ภาพดอกตูมและผล: ตาก - RP) Backhouse) Dress ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “odontos” แหลม และ “aden”
บานบุรี, สกุล ต่อม หมายถึงลักษณะยอดเกสรเพศเมีย
Allamanda L. เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Apocynaceae Morales, J.F. (1999). A synopsis of the genus Odontadenia (Apocynaceae). Bulletin
du Jardin Botanique National de Belgique 67: 392-395.
ไม้พุ่มหรือไม้เถา ใบเรียงเวียนรอบข้อ 3-5 ใบ มีต่อมตามซอกใบ เส้นแขนงใบ
เรียงจรดกันเป็นเส้นขอบใน ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง
ใบประดับรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนด้านในมีเกล็ดหรือไม่มี
กลีบดอก 5 กลีบ เรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก ดอกบานรูปแตร โคนเรียวแคบ
รูปทรงกระบอก เกสรเพศผู้ติดภายในหลอดกลีบช่วงบานออก ก้านชูอับเรณูสั้น
อับเรณูแนบติดยอดเกสรเพศเมีย โคนเว้ารูปเงี่ยงลูกศร จานฐานดอกเป็นวงหรือ
จักมน รังไข่เชื่อมติดกันเป็นช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรมี
รอยต่อ ผลแห้งแตกมีหนาม มีหลายเมล็ด รูปไข่ มีปีกบาง ๆ บานบุรีหอม: ดอกสีครีมอมเหลือง (ภาพซ้าย: cultivated - RP); อมรเบิกฟ้า: ดอกสีชมพู (ภาพขวา: cultivated - RP)
227
58-02-089_213-292_Ency_new1-3_J-Coated.indd 227 3/1/16 5:47 PM