Page 232 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 232

นาคราช
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   สกุล Rhodoleia Champ. ex Hook. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Exbucklandoideae   พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามโขดหิน
                   ร่วมกับสกุล Exbucklandia มีประมาณ 10 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก   หรืิอต้นไม้ที่มีมอสเกาะ ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูง 800-1400
                   “rhodo” สีแดง และ “leios” เรียบ ตามลักษณะของกลีบดอก  เมตร ส่วน var. trichomanoides เกล็ดเรียวแคบจากโคน ปลายแหลมยาว เกลี้ยง
                                                                     หรือมีขนสั้น ๆ ตามขอบ ใบย่อยจักลึกเกินกึ่งหนึ่ง ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทาง
                  เอกสารอ้างอิง                                      ภาคเหนือและภาคใต้ เหง้าใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ
                   Suddee, S. and D.J. Middleton. (2003). Rhodoleia (Hamamelidaceae), a new
                      generic record for Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 31: 132-135.
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                          Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                                                                       Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1985). Davalliaceae. In Flora of Thailand Vol. 3(2):
                                                                          157-164.
                                                                       Xing, F., W. Faguo and H.P. Nooteboom. (2013). Davalliaceae. In Flora of
                                                                          China Vol. 2-3: 752-754.










                                                                      นาคราช: เฟินอิงอาศัย ใบประกอบหลายชั้น ใบย่อยจักเป็นพู กลุ่มอับสปอร์ติดที่ปลายเส้นแขนงใบใกล้ขอบใบ
                  นวลชมพู: แผ่นใบมีนวลด้านล่าง ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกติดกันเป็นช่อกระจุกแน่น ล้อมรอบด้วยวงใบประดับ   มีเยื่อคลุมรูปถ้วย (ภาพซ้าย: อ่าวลึก กระบี่ - DM; ภาพขวา: ภูจองนายอย อุบลราชธานี - TP)
                กลีบดอกมีเฉพาะดอกที่อยู่วงนอกสุด (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK)

                นาคราช, สกุล
                Davallia Sm.
                วงศ์ Davalliaceae
                   เฟินอิงอาศัยหรือขึ้นบนพื้นดิน เหง้าทอดเลื้อย เกล็ดรูปโล่สีเข้ม ใบประกอบ
                2-4 ชั้น เรียงห่าง ๆ ใบมีแบบเดียวหรือสองแบบ แผ่นใบรูปสามเหลี่ยม หนา
                เกลี้ยง ก้านใบยาว บางครั้งมีปีกแคบ ๆ ใบประกอบย่อยช่วงโคนขนาดใหญ่กว่า  นาคราชเกล็ดน�้าตาล: ใบประกอบรูปสามเหลี่ยมมน ก้านใบประกอบย่อยแต่ละชั้นมีก้านสั้น ๆ ช่วงโคน ช่วงปลาย
                ช่วงปลาย ขอบใบย่อยจักมนหรือจักเป็นพู เส้นแขนงใบแตกเป็นง่าม ไม่เชื่อมติดกัน   ไร้ก้าน ใบย่อยขอบเว้าหรือจักตื้น ๆ (ภาพ: ภูหินร่องกล้า พิษณุโลก - PK)
                กลุ่มอับสปอร์ติดที่ปลายเส้นแขนงใบด้านล่าง รูปกลม มีเยื่อคลุม หันออกตามยาว   นางแย้ม, สกุล
                ติดที่โคนและด้านข้าง เซลล์ผนังหนา สปอร์มีรอยเชื่อมเดียว
                                                                     Clerodendrum L.
                   สกุล Davallia มีประมาณ 40 ชนิด พบตามหมู่เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก   วงศ์ Lamiaceae
                   แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 11 ชนิด ชื่อสกุลตั้ง  ไม้พุ่ม ไม้ต้น หรือไม้เถา กิ่งมักเป็นสี่เหลี่ยม ไม่มีหูใบ ใบเรียงตรงข้ามสลับ
                   ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Edmund Davall (1763-1798)
                                                                     ตั้งฉากหรือเรียงรอบข้อ ช่อดอกแบบช่อกระจุก บางครั้งแยกแขนงแบบช่อเชิงหลั่น
                                                                     หรือช่อกระจุกแน่น ออกตามปลายกิ่ง มีใบประดับและใบประดับย่อย กลีบเลี้ยง
                นาคราช                                               5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน ติดทน กลีบดอกสมมาตรด้านข้าง หลอดกลีบเรียวยาว
                Davallia denticulata (Burm. f.) Mett. ex Kuhn        ส่วนมากมี 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้สองคู่ยาวไม่เท่ากัน ติดภายใน
                  ชื่อพ้อง Adiantum denticulatum Burm. f.            หลอดกลีบดอกระหว่างกลีบดอก ยื่นพ้นหลอดกลีบ อับเรณูมี 2 ช่อง แตกตามยาว
                   เฟินอิงอาศัย เหง้าหนา เกล็ดเรียวยาว ใบประกอบยาว 60-90 ซม. กว้างประมาณ   รังไข่มี 4 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสร
                50 ซม. ปลายเรียวแหลม ก้านใบแข็ง ยาว 30-50 ซม. ใบประกอบย่อยยาว 8-45 ซม.   จัก 2 พู ผลผนังชั้นในแข็ง มี 2-4 ไพรีน แต่ละไพรีนมีเมล็ดเดียว
                ใบประกอบย่อยที่สามยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านสั้นหรือไร้ก้านช่วงปลายใบ ใบย่อย  สกุล Clerodendrum เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Verbenaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
                รูปขอบขนาน ยาว 2-3 ซม. ปลายแหลมมน กลม หรือตัด โคนเบี้ยว ขอบจักเป็นพู   Ajugoideae มีประมาณ 150 ชนิด ส่วนมากพบในแอฟริกาและเอเชีย ในไทยมี
                กว้างประมาณ 4 มม. มีเส้นใบแซม กลุ่มอับสปอร์ติดที่ปลายเส้นแขนงใบใกล้ขอบใบ   ประมาณ 30 ชนิด หลายชนิดเป็นไม้ประดับ บางชนิดย้ายไปอยู่สกุล Rotheca
                มีเยื่อคลุมรูปถ้วย ยาวประมาณ 0.7 มม.                   ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kleros” โอกาสหรือโชคชะตา และ “dendron” ต้นไม้
                   พบที่แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน  หมายถึงต้นไม้แห่งโอกาสที่หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
                และมาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามต้นไม้
                และโขดหินในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าพรุ ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร  นางแย้ม

                                                                     Clerodendrum chinense (Osbeck) Mabb.
                นาคราชเกล็ดน้ำาตาล                                    ชื่อพ้อง Cryptanthus chinensis Osbeck
                Davallia trichomanoides Blume var. lorrainii (Hance) Holttum  ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. กิ่งมีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง และ
                  ชื่อพ้อง Davallia lorrainii Hance                  ก้านใบ ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมยาว โคนตัดหรือ
                   เฟินอิงอาศัย เหง้าเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. เกล็ดคอดเหนือโคนเรียวยาว  เว้าตื้น ขอบจักซี่ฟัน แผ่นใบด้านบนสาก มีต่อมหลายต่อมใกล้โคน ก้านใบยาว
                คล้ายหาง ขอบมีขนยาว ใบประกอบรูปสามเหลี่ยมมน เรียวแคบ ยาว 10-35 ซม.   3-20 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงแบบช่อเชิงหลั่น ก้านช่อสั้น ใบประดับ
                ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านใบประกอบย่อยแต่ละชั้นมีก้านสั้น ๆ ช่วงโคน ช่วง  รูปใบหอก ยาว 1.5-3 ซม. มีต่อมและขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว
                ปลายไร้ก้าน ใบประกอบย่อยยาวได้ถึง 19 ซม. แต่ส่วนมากยาวประมาณ 10 ซม.   1.5-1.7 ซม. สีม่วงแกมเขียว ดอกสีขาวอมชมพูหรืออมม่วง บางครั้งซ้อนกัน
                ใบประกอบย่อยที่สามยาว 2-7 ซม. ใบย่อยยาว 0.5-2.5 ซม. ปลายแหลมมน   หลายกลีบ หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1 ซม. กลีบรูปรีหรือรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ
                ขอบเว้าหรือจักตื้น ๆ ไม่มีเส้นใบแซม เนื้อใบแข็ง กลุ่มอับสปอร์ติดที่ปลายเส้น   1.5 ซม. เกสรเพศผู้อันยาว ยาวประมาณ 3 ซม. ผลมีกลีบเลี้ยงหุ้ม เส้นผ่านศูนย์กลาง
                แขนงใบ เยื่อคลุมรูปถ้วย ยาวประมาณ 2 มม.              0.8-1 ซม. มี 2-4 พู สุกสีน�้าเงินด�า

                212






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   212                                                                 3/1/16   5:31 PM
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237