Page 230 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 230
นนทรีป่า
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ตาดอกกลม กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 5-8 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ โคนและก้านกลีบมีขน 3 ซม. มีขนละเอียด ผลยาว 6-37 ซม. เมล็ดปลายด้านหนึ่งมีขนจ�านวนมาก ยาว
ก้านชูอับเรณูยาว 1.2-1.5 ซม. รังไข่มีก้านสั้น ๆ มีขน ฝักรูปใบหอก ปลายแหลม โคน 1-2.5 ซม. อีกด้านหนึ่งมี 1 เส้น ยาว 1-1.8 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ว่านไก่แดง, สกุล)
เรียวแคบ ยาวได้ถึง 12 ซม. ขอบมีปีกกว้าง 4-5 มม. มี 1-4 เมล็ด เรียงตามยาว พบที่พม่า และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้
พบที่กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบตามชายฝั่งทะเล ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร ดอกสีเขียวอมเหลือง
และป่าโปร่งหลังป่าโกงกาง เป็นไม้ประดับ ในอินโดนีเซียเปลือกใช้ย้อมผ้าบาติก คล้ายกับ A. fecundus P. Woods ที่ดอกขนาดเล็กกว่า และเกสรเพศผู้ไม่ยื่น
พ้นปากหลอดกลีบดอก
นนทรีป่า เอกสารอ้างอิง
Peltophorum dasyrhachis (Miq.) Kurz Middleton, D.J. (2007). A revision of Aeschynanthus (Gesneriaceae) in Thailand.
ชื่อพ้อง Caesalpinia dasyrhachis Miq. Edinburgh Journal of Botany 64(3): 397-400.
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน แกนช่อ หูใบยาว
ได้ถึง 1 ซม. แยกสองแฉก แต่ละแฉกแยกแบบขนนก ใบประกอบยาว 15-40 ซม.
ใบประกอบย่อยมี 5-9 คู่ ใบย่อยมี 6-16 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 1-2.5 ซม. ปลาย
เว้าตื้น แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มด้านล่าง ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ
ใกล้ปลายกิ่ง ยาว 15-30 ซม. ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาว 7-9 มม. ติดทน ก้านดอก
ยาว 2-4 ซม. ตาดอกรูปไข่ กลีบเลี้ยงรูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. ด้านนอกมีขน
กลีบดอกรูปไข่กลับ โคนมีขนจรดก้านกลีบด้านบน ก้านชูอับเรณูยาว 1-1.5 ซม.
รังไข่ไร้ก้าน มีขนละเอียด ฝักรูปใบหอก ปลายและโคนแหลม ยาว 10-15 ซม.
ขอบมีปีกกว้าง 4-5 มม. มี 4-8 เมล็ด เรียงตามขวาง
พบที่ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยส่วนมากพบ
ทางภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น
ความสูงระดับต�่า ๆ เป็นไม้ประดับและไม้สวนป่า แยกเป็น var. tonkinense
(Pierre) K. Larsen & S. S. Larsen ช่อดอกและก้านดอกสั้นกว่า มี 3-4 เมล็ด
นมเมียหิน: ล�าต้นห้อยลง ใบเรียงตรงข้าม มีปื้นตามเส้นแขนงใบ ช่อดอกไร้ก้าน มี 1-3 ดอก กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน
พบที่ไห่หนาน และภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งใน Flora of China มีสถานะภาพเป็นชนิด เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK; ภาพขวาล่าง: ยะลา - MP)
เอกสารอ้างอิง นมแมว
Chen, D., D. Zhang and D. Hou. (2010). Fabaceae (Peltophorum tonkinense).
In Flora of China Vol. 10: 39-40. Uvaria siamensis (Scheff.) L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. วงศ์ Annonaceae
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 53-56.
ชื่อพ้อง Rauwenhoffia siamensis Scheff., Melodorum siamense (Scheff.) Bân
ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย มีขนกระจุกสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง
และเส้นกลางใบด้านบน มีขนสั้นนุ่มตามก้านใบ ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
ด้านนอก ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 9-15 ซม. ก้านใบยาว 3-5 มม. ช่อดอกออก
ตรงข้ามใบ มี 1-3 ดอก ก้านช่อสั้น ก้านดอกยาวประมาณ 8 มม. ใบประดับรูปไข่
ยาว 2-5 มม. ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงหนา รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 3 มม. ดอกสีเหลืองนวล
กลีบรูปไข่ ยาวประมาณ 8 มม. วงในแคบกว่าเล็กน้อย โคนคอดเรียว เกลี้ยง
เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.5 มม. มีประมาณ 10 คาร์เพล มีขนกระจุกคล้ายเกล็ด
ผลย่อยมี 2-10 ผล รูปรีกว้าง ยาว 1-2 ซม. ส่วนมากมี 2-4 เมล็ด แบน ยาวประมาณ
7 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กล้วยพังพอน, สกุล)
นนทรี: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ฝักรูปใบหอก ปลายแหลม โคนเรียวแคบ (ภาพ: cultivated - RP)
พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นกระจาย
ตามชายป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าโปร่ง ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร
นมแมวป่า
Uvaria cherrevensis (Pierre ex Finet & Gagnep.) L. L. Zhou, Y. C. F.
Su & R. M. K. Saunders
ชื่อพ้อง Ellipeia cherrevensis Pierre ex Finet & Gagnep.
นนทรีป่า: หูใบยาว แยกสองแฉก แต่ละแฉกแยกแบบขนนก ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง
ใบประดับรูปลิ่มแคบ ติดทน เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน รังไข่มีขนละเอียด (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - SSi) ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1 ม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ก้านใบ
ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว
นมเมียหิน 12-15 ซม. ก้านใบยาว 0.8-1 ซม. ช่อดอกออกตรงข้ามใบ มีดอกเดียว ก้านช่อสั้น
Aeschynanthus longicaulis Wall. ex R. Br. ก้านดอกยาว 8-1.2 ซม. ใบประดับรูปรี ยาว 0.8-1.5 ซม. ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงหนา
วงศ์ Gesneriaceae รูปไข่กว้าง ยาว 5-6 มม. กว้างประมาณ 8 มม. ดอกสีเหลืองนวล กลีบรูปไข่ ยาว
1.2-1.4 ซม. วงในแคบกว่าเล็กน้อย โคนคอดเรียว เกลี้ยง มีต่อม 2 ต่อม เกสรเพศผู้
ไม้อิงอาศัย ล�าต้นห้อยลง ใบรูปรีหรือรูปใบหอก ยาว 6.5-12 ซม. แผ่นใบมี ยาวประมาณ 2 มม. มี 25-30 คาร์เพล มีขนสั้นนุ่ม ผลย่อยมี 5-20 ผล รูปรีกว้าง
ปื้นสีอ่อนตามเส้นแขนงใบ สีม่วงด้านล่าง ก้านใบยาว 0.2-1.4 ซม. ช่อดอกออก ยาวประมาณ 1 ซม. สุกสีแดง มีเมล็ดเดียว
ตามยอด ไร้ก้าน มี 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน รูป
ใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 0.8-1.8 ซม. ด้านในมีขน ดอกสีเหลืองอมเขียว ด้านใน พบที่บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้
มีปื้นสีน�้าตาลอมแดงหรือม่วง หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 ซม. มีขนเป็นกระจุกใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
จุดกึ่งกลางด้านใน กลีบบนรูปไข่ ยาว 2.5-4 มม. แฉกลึก กลีบคู่ข้างรูปรีกว้าง เอกสารอ้างอิง
ยาว 2-4 มม. กลีบล่างรูปไข่ ยาวกว่ากลีบข้างเล็กน้อย มีขนครุย ก้านชูอับเรณูยาว Meade, C.V. (2000). A systematic revision of the Uvaria L. group (Annonaceae) in
2.3-2.7 ซม. ที่เป็นหมัน 1 อัน รังไข่เกลี้ยง มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ continental Asia. PhD. Thesis, Trinity College, University of Dublin, Ireland.
210
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 210 3/1/16 5:31 PM