Page 218 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 218
เทพธาโร
เทพธาโร, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย พบที่อินเดีย กัมพูชา คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทาง
Ceropegia L. ภาคใต้ตอนล่างที่ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามที่ลาดชันในป่าดิบชื้น ความสูง
ถึงประมาณ 600 เมตร
วงศ์ Apocynaceae
ไม้ล้มลุกหรือไม้เถา บางครั้งอวบน�้า ส่วนต่าง ๆ ส่วนมากมียางใส มีหัวใต้ดิน เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 364-366.
ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้นๆ คล้ายช่อซี่ร่มหรือช่อกระจะ ออกตามซอกใบ ใบเรียง
ตรงข้าม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึก มีต่อมที่โคน กลีบดอกเชื่อมติดกัน โคนเป็น
กระเปาะ เรียวคอดแคบ ปลายบานออก แยกเป็น 5 กลีบ ปลายมักเชื่อมติดกัน
เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกันที่โคน แนบติดเส้าเกสรเพศเมีย (gynostegium)
กะบังเรียง 2 ชั้น ชั้นนอกจักเป็น 5 พู เชื่อมติดกันรูปถ้วย บางครั้งพูแยก 2 แฉก
กะบังวงในเรียวแคบ 5 อัน รังไข่เหนือวงกลีบ มี 2 คาร์เพล ก้านเกสรเพศเมีย
เชื่อมติดกัน ผลเป็นฝักคู่ เมล็ดจ�านวนมาก
สกุล Ceropegia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Asclepioideae มีประมาณ 170 ชนิด ส่วนมาก
พบในแอฟริกา ในไทยมีมากกว่า 10 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “keros” เป็นไข
และ “pege” แหล่งกำาเนิด ตามลักษณะของดอกหรือต้นที่มีไข
เทพธาโร
Ceropegia arnottiana Wight
เทพพนม: ผลมีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงขยายใหญ่ในผล แยกจรดโคน ก้านผลยาว (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - RP)
ไม้เถา หัวใต้ดินกลม ๆ ขนาดเล็ก ใบรูปแถบ ยาว 5-15 ซม. เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน
ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ช่อดอกมี 1-3 ดอก บานทีละดอก ก้านดอกยาว 0.5-1.2 ซม. เทพี
กลีบเลี้ยงรูปแถบ ยาวประมาณ 5 มม. กลีบดอกยาว 4-7 ซม. หลอดกลีบดอก Caesalpinia crista L.
สีเขียวอ่อน มีปื้นและจุดประสีน�้าตาลกระจาย กลีบยาวเท่า ๆ หลอดกลีบ ปลายกลีบ วงศ์ Fabaceae
ครึ่งบนสีแดงอมม่วง ด้านในมีขนยาวห่างๆ จรดโคนกลีบด้านใน ผลเป็นฝักยาว
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 10 ม. กิ่งมีหนามโค้ง หูใบรูปลิ่มขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
ประมาณ 15 ซม. เมล็ดแบน กระจุกขน ยาว 3.5-4 ซม. ใบประกอบย่อยมี 2-4 คู่ แกนกลางยาว 10-20 ซม. ใบย่อยมี 2-6 คู่ รูปไข่หรือ
พบที่อินเดีย พม่า ลาว และกัมพูชา ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม รูปขอบขนาน ยาว 2-6 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 200-900 เมตร แยกแขนง ยาว 10-20 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม.
ปลายมีข้อต่อ กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6 มม. กลีบล่างรูปหมวก
เอกสารอ้างอิง ดอกสีเหลือง กลีบบนและกลีบล่างรูปไข่ ยาวประมาณ 1 ซม. มีก้านสั้น กลีบกลาง
Albers, F. and U. Meve (eds.). (2004). Illustrated handbook of succulent plants:
Asclepiadaceae, Springer-Verlag Berlin Heidelberg. สั้นกว่า มีริ้วสีแดง โคนเว้า มีขน รังไข่มีก้านสั้น ๆ มีขน ผลรูปรีเบี้ยวหรือคล้าย
สี่เหลี่ยมคางหมู ยาว 3-7 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ผิวเป็นร่างแห ส่วนมากมีเมล็ดเดียว
รูปคล้ายไต แบน ยาว 1-1.2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หนามขี้แรด, สกุล)
พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม
ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยส่วนมากพบทางภาคใต้ ขึ้นตามชายทะเล
หรือป่าโกงกาง พบน้อยทางภาคเหนือ ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1972). Leguminosae-Caesalpinioideae.
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 70.
เทพธาโร: ใบรูปแถบ ดอกออกตามซอกใบ โคนกลีบดอกเป็นกระเปาะ ปลายบานออกและเชื่อมติดกัน มีขน
(ภาพ: สวนผึ้ง ราชบุรี - PK)
เทพพนม
Diospyros latisepala Ridl.
เทพี: ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนง กิ่งมีหนาม กลีบกลางขนาดเล็ก มีริ้วสีแดง เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน
วงศ์ Ebenaceae ฝักเบี้ยว ปลายมีติ่งแหลม (ภาพดอก: สตูล - NP; ภาพผล: ทุ่งทะเล กระบี่ - RP)
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. ใบรูปขอบขนาน ยาว 11-26 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ เท้ายายม่อม
6-10 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ
ก้านดอกยาวได้ถึง 1.2 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 4-8 มม. กลีบแยกจรดโคน ดอกรูปหลอด Tacca leontopetaloides (L.) Kuntze
ยาว 0.7-1 ซม. กลีบแยกเกือบจรดโคน ด้านนอกมีขน เกสรเพศผู้ 4-8 อัน ไม่มีรังไข่ วงศ์ Dioscoreaceae
ที่เป็นหมัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว 2-8 มม. ดอกรูปคนโท กลีบแฉกลึก ชื่อพ้อง Leontice leontopetaloides L.
น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง รังไข่มี 4 ช่อง รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขนสาก เกสรเพศผู้ ไม้ล้มลุก หัวมีแป้ง ใบรูปฝ่ามือ กว้างได้ถึง 120 ซม. ยาวได้ถึง 70 ซม. มี 3 แฉก
ที่เป็นหมันมี 4-5 อัน ผลรูปรีหรือเกือบกลม ยาว 3-4 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง แฉกจักเป็นพู ก้านใบยาว 20-170 ซม. รวมกาบ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม มี 1-2 ช่อ
แยกจรดโคน ขยายในผล ยาว 2-3 ซม. ก้านผลยาวได้ถึง 10 ซม. เอนโดสเปิร์มเรียบ ยาวได้ถึง 2 ม. ดอกหนาแน่น ใบประดับ 4-12 ใบ เรียง 2 วง รูปไข่ รูปขอบขนาน หรือ
(ดูเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล) รูปใบหอก ยาว 2.5-10 ซม. ใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย ยาว 10-25 ซม. ติดทน
198
59-02-089_113-212_Ency new5-3 i_Coated.indd 198 3/5/16 4:55 PM