Page 214 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 214

ทองแมว


                ทองแมว              สารานุกรมพืชในประเทศไทย            สกุล Erythrina L. มีประมาณ 100 ชนิด ในไทยมี 4 ชนิด และมีหลายชนิดที่นำาเข้า
                Gmelina elliptica Sm.                                  มาปลูกเป็นไม้ประดับ เช่น มโนรมย์ E. corallodendron L. และสราญรมย์
                                                                       E. crista-galli L. เป็นต้น ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “erythros” สีแดง ตามสีของดอก
                วงศ์ Lamiaceae
                   ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย มักมีหนามตามล�าต้นและกิ่ง มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่ง   เอกสารอ้างอิง
                                                                       Sa, R. and M.G. Gilbert. (2010). Fabaceae (Erythrina). In Flora of China Vol.
                ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก ใบรูปรีหรือรูปไข่ หรือจัก  10: 238-239.
                ตื้น ๆ ด้านล่างมักมีเกล็ดรูปโล่และต่อมกระจาย เส้นแขนงใบข้างละ 3-4 เส้น ก้านใบ
                ยาว 0.5-3 ซม. ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง ใบประดับรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 1-2 ซม.
                ร่วงเร็วหรือค่อนข้างติดทน กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 3-5 มม. จักตื้น ๆ มีต่อม
                กระจาย ดอกสีเหลือง สมมาตรด้านข้าง หลอดกลีบดอกยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยก
                เป็น 4 กลีบ ปลายพับงอกลับ กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบกลางรูปสามเหลี่ยมกว้าง ยาว
                0.5-1.3 ซม. กลีบข้างเล็กกว่า กลีบบน 1 กลีบยาวกว่ากลีบข้างเล็กน้อย เกสรเพศผู้
                ติดใกล้ปากหลอดกลีบ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน คู่ล่างยาวประมาณ 1.5 ซม. คู่บนยาว
                1-1.8 ซม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-2.5 ซม. ผลผนังชั้นในแข็ง กลมหรือ
                รูปไข่กว้าง ยาว 1-2 ซม. ส่วนมากมีเมล็ดเดียวที่เจริญ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ซ้อ, สกุล)  ทองหลางลาย: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ดอกเรียงหนาแน่น กลีบเลี้ยงแยกจรดโคนด้านเดียว กลีบปีกและกลีบคู่ล่างสั้น
                                                                     ฝักรูปทรงกระบอก คอดตามเมล็ด (ภาพดอก: นครสวรรค์ - PK; ภาพผล: cultivated - RP)
                   พบที่หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย
                และฟิลิปปินส์ ในไทยส่วนมากพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชาย  ทองอุไร
                ป่าดิบชื้น และป่าชายหาด ความสูงระดับต�่า ๆ คล้ายกับคางแมว G. asiatica L.   Tecoma stans (L.) Juss. ex Kunth
                ต่างกันที่คางแมวแผ่นใบด้านล่างเกลี้ยงหรือมีขนประปรายตามเส้นแขนงใบ ใบบด  วงศ์ Bignoniaceae
                ประคบแก้ปวดหัว บวมอักเสบ ผลใช้ประคบแผล
                                                                      ชื่อพ้อง Bignonia stans L.
                   เอกสารอ้างอิง                                       ไม้พุ่ม ไม่มีหูใบ ใบประกอบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ก้านใบยาว 3-6 ซม.
                   de Kok, R. (2012). A revision of the genus Gmelina (Lamiaceae). Kew Bulletin   ใบย่อยมี 2-4 คู่ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2.5-15 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย
                      67(3): 306-308.
                                                                     ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง ยาว 5-12 ซม. กลีบเลี้ยงรูปกรวย
                                                                     ยาว 5-8 มม. มี 5 กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. ดอกสีเหลือง รูปแตร ยาว
                                                                     3.5-6 ซม. โคนหลอดกลีบแคบ ด้านในมีขนสั้น โคนมีต่อม มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
                                                                     รูปค่อนข้างกลม ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน ไม่ยื่นพ้นปาก
                                                                     หลอดกลีบ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 ซม. อับเรณูแยกกัน กางออก มีขนสั้น
                                                                     มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 1 อัน รังไข่มีปุ่มกระจาย ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.8-2 ซม.
                                                                     ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็นแผ่นบาง 2 แฉก ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก รูปแถบ แบน ยาว
                                                                     12-16 ซม. ปลายเรียวแหลม ผิวมีช่องอากาศ เมล็ดจ�านวนมาก แบน รูปรี ยาวประมาณ
                                                                     1 ซม. ขอบมีปีกบางใสประมาณ 1 ซม.
                                                                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน
                  ทองแมว: กิ่งและแผ่นใบมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกตามปลายกิ่ง ใบประดับรูปรีถึงรูปใบหอก ค่อนข้าง
                ติดทน กลีบดอกสมมาตรด้านข้าง เกสรเพศผู้ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน ผลรูปไข่กว้าง (ภาพ: สิงหนคร สงขลา - RP)
                                                                       สกุล Tecoma Juss. มีประมาณ 14 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อนและแอฟริกา
                                                                       ในไทยพบเป็นไม้ประดับ 2 ชนิด อีกชนิดคือ พวงแสดต้น T. capensis (Thunb.)
                                                                       Lindl. เกสรเพศผู้ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก ปลายอับเรณูเชื่อมติดกัน โคนกางออก
                                                                       มีทั้งดอกสีส้มและสีเหลือง ชื่อสกุลมาจากภาษาเม็กซิโก “texomachit” ที่เรียก
                                                                       พืชที่มีดอกรูปแตร

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Nasir, Y.J., E. Nasir and S.L. Ali. (1979). Tecoma Juss. (Bignoniaceae). Flora
                                                                          of West Pakistan 131: 14-15.
                  คางแมว: แผ่นใบค่อนข้างเกลี้ยง ใบมักจักตื้น ๆ รูปสามเหลี่ยม (ภาพ: ท่าอุเทน นครพนม - RP)
                                                                       Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                ทองหลางลาย                                                Press, Honolulu, Hawai`i.
                Erythrina variegata L.
                วงศ์ Fabaceae
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ล�าต้นมีหนาม หูใบรูปใบหอก ยาวได้ถึง 1 ซม. ร่วงเร็ว
                ใบประกอบมี 3 ใบย่อย เรียงเวียน ก้านใบยาว 10-15 ซม. ใบย่อยรูปไข่กว้างหรือ
                สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว 4-25 ซม. กว้างได้ถึง 30 ซม. โคนมีต่อม 1 คู่ เส้นโคนใบ
                3 เส้น แผ่นใบมักมีลายด่างตามเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 10-15 ซม. ก้านยาว 7-10 ซม. ดอกหนาแน่น ใบประดับร่วงเร็ว   ทองอุไร: ใบประกอบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ไม่ยื่นพ้นปาก
                ก้านดอกหนา ยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลี้ยงแยกจรดโคนด้านเดียว ยาว 2-3 ซม.   หลอดกลีบดอก ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก มีช่องอากาศกระจาย (ภาพ: cultivated - MP)
                ดอกสีแดง กลีบกลางรูปขอบขนาน ยาว 5-6 ซม. มีก้านสั้น กลีบปีกและกลีบคู่ล่าง
                ยาวเท่า ๆ กัน สั้นกว่ากลีบกลาง กลีบคู่ล่างแยกกัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน 2 กลุ่ม
                กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน ยาว 4-6 ซม. รังไข่มีขนละเอียด ฝักรูปทรง
                กระบอก ยาว 10-45 ซม. คอดตามเมล็ด เมล็ดสีแดงสด มี 2-10 เมล็ด
                   พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ญี่ปุ่น พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ความสูงถึงประมาณ
                1200 เมตร ต้นใบด่างนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ส่วนต่าง ๆ มีพิษ แต่มีสรรพคุณ
                ด้านสมุนไพรหลายอย่าง                                  พวงแสดต้น: ดอกสีส้มหรือเหลือง รูปแตร เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: cultivated - RP)

                194






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   194                                                                 3/1/16   5:27 PM
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219