Page 212 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 212

ทลายเขา
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พบที่หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ พม่า กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ คาบสมุทรมลายู   ทองกวาว
                ชวา สุมาตรา บอร์เนียว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้   Butea monosperma (Lam.) Taub.
                และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
                                                                     วงศ์ Fabaceae
                   สกุล Rourea Aubl. มี 60-70 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด อีก 2 ชนิด คือ R. minor   ชื่อพ้อง Erythrina monosperma Lam.
                   (Gaertn.) Alston และ R. prainiana Talbot ใบประกอบมีใบย่อยน้อยกว่า 5 คู่   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แตกกิ่งต�่า หูใบและหูใบย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบ
                   ชื่อสกุลเป็นภาษาพื้นเมืองในประเทศกายอานา          มี 3 ใบย่อย ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ใบย่อยขนาดไม่เท่ากัน ยาว 14-17 ซม.
                  เอกสารอ้างอิง                                      ปลายกลมหรือเว้าตื้น ๆ โคนมักเบี้ยว ใบปลายรูปไข่กลับกว้างเกือบกลม ก้านยาว
                   Vidal, J.E. (1972). Connaraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 122-125.  ได้ถึง 5 ซม. ใบข้างรูปไข่ ก้านยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงคล้ายช่อกระจุก
                                                                     ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ยาวได้ถึง 50 ซม. มีขนละเอียด ใบประดับขนาดเล็ก
                                                                     ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1-1.2 ซม. มีขนทั้งสองด้าน ปลายจักตื้น ๆ กลีบบน
                                                                     2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ดอกโค้งงอ สีส้มหรือเหลือง ยาว 5-5.5 ซม. มีขนละเอียด
                                                                     กลีบกลางรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กลีบปีกและกลีบคู่ล่างรูปเคียว เชื่อมติดกัน
                                                                     กลีบคู่ล่างกว้างและยาวกว่ากลีบปีกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน 2 กลุ่ม
                                                                     กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน รังไข่มีขนละเอียด ก้านเกสรเพศเมียโค้งเข้า
                                                                     ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักรูปขอบขนาน แบน ยาว 12-15 ซม. ปลายกลม ก้านยาวประมาณ
                                                                     1.5 ซม. มีเมล็ดเดียวอยู่ที่ปลายผล แบน ยาว 3-3.5 มม.
                                                                       พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และสุมาตรา
                                                                     ในไทยพบแทบทุกภาค พบน้อยทางภาคใต้ ความสูงถึงประมาณ 750 เมตร เป็น
                                                                     ไม้ประดับ ยางสีแดงมีสรรพคุณเป็นยาสมาน
                                                                       สกุล Butea Roxb. ex Willd. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Phaseoleae
                                                                       มีประมาณ 4 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ ทองเครือ B. superba Roxb.
                  เถาหงอนไก่: ใบประกอบมีใบย่อยจ�านวนมาก ผลรูปขอบขนาน โค้ง กลีบเลี้ยงที่ขยายแนบติดผล (ภาพ: แม่สอด ตาก - PK)
                                                                       เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง มีหัวใต้ดิน ยางเป็นพิษ ส่วนมากพบทางภาคเหนือ ชื่อสกุล
                ทลายเขา                                                ตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ที่เป็นขุนนางชาวสกอตแลนด์ John Stuart, 3  Earl of
                                                                                                               rd
                Antheroporum glaucum Z. Wei                            Bute (1713-1792)
                วงศ์ Fabaceae                                         เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chen, D., Dianxiang Zhang and M. Thulin. (2010). Fabaceae (Butea). In Flora
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ไม่มีหูใบ ใบประกอบมีใบย่อย 1-3 คู่ ยาว 25-30 ซม.   of China Vol. 10: 222.
                ก้านยาว 6-7 ซม. ใบย่อยเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 12-22 ซม.
                ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบมีนวลด้านล่าง ก้านใบยาว 0.5-1 ซม.
                ใบแห้งสีด�า ช่อดอกแบบช่อกระจะ มี 2-5 ช่อ ยาว 7-10 ซม. มีใบประดับหุ้มตา
                ช่อดอก แต่ละกระจุกมี 1-2 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย
                ยาวประมาณ 5 มม. ปลายจักไม่ชัดเจน ดอกสีขาวหรืออมม่วง ยาวประมาณ 7 มม.
                กลีบกลางกลม กลีบปีกเชื่อมติดกลีบคู่ล่างบางส่วน เกสรเพศผู้เชื่อมติดกลุ่มเดียว
                อับเรณูมีรูเปิดที่ปลาย รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียสั้น ฝักรูปรีหรือรูปขอบขนาน
                ยาว 3-5.5 ซม. ปลายมีจะงอย มี 1-2 เมล็ด กลมแบน ๆ มีขั้วเมล็ด
                   พบที่จีนตอนใต้ พม่า ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้
                และภาคใต้ตอนบน ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้นที่เป็นเขาหินปูน ความสูงถึง
                ประมาณ 300 เมตร

                   สกุล Antheroporum Gagnep. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Millettieae มี
                   4-5 ชนิด พบที่จีนตอนใต้ พม่า และเวียดนาม ในไทยอาจมีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุล
                   มาจากภาษากรีก “anthera” อับเรณู และ “poros” รูเปิด ตามลักษณะของอับเรณู
                                                                      ทองกวาว: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงคล้ายช่อกระจุก ดอกสีส้มหรือเหลือง กลีบปีกและกลีบคู่ล่างรูปเคียว ฝักรูป
                                                                     ขอบขนาน มีเมล็ดเดียวอยู่ที่ปลายผล (ภาพ: cultivated; ภาพดอกสีส้ม - PK, ภาพดอกสีเหลือง - SSi, ภาพผล - RP)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Wei, Z. and L. Pedley. (2010). Fabaceae (Antheroporum). In Flora of China Vol.   ทองบึ้ง
                      10: 173.
                                                                     Koompassia malaccensis Maingay ex Benth.
                                                                     วงศ์ Fabaceae
                                                                       ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 60 ม. โคนมีพูพอนขนาดใหญ่ หูใบขนาดเล็ก รูปรีกว้าง
                                                                     ใบประกอบ ส่วนมากมีใบย่อย 5-9 ใบ เรียงเกือบตรงข้าม รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน
                                                                     ยาว 5-13 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงหนาแน่น
                                                                     มีขนละเอียด ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 1-2.5 มม.
                                                                     กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเล็ก ด้านนอกมีขน ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ
                                                                     2.5 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบดอก อับเรณูรูปหัวใจ
                                                                     รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเป็นตุ่ม ฝักรูปใบหอก
                                                                     โคนบิด ยาว 12-13 ซม. ขอบมีปีกบาง ๆ มีเมล็ดเดียว รูปขอบขนาน เบี้ยว แบน
                                                                     ยาวประมาณ 3 ซม.
                                                                       พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ที่ตรัง
                  ทลายเขา: ใบประกอบมีใบย่อย 1-3 คู่ ปลายใบแหลมยาว ปลายฝักมีจะงอย (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - MP)  ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น และป่าพรุ ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร

                192






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   192                                                                 3/1/16   5:26 PM
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217