Page 219 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 219
ดอกสีเขียวอมเหลือง กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง วงนอกรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว เทียน, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย เทียนเชียงดาว
4-7 มม. วงในรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-8 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ปลาย Impatiens L.
มีแผ่นคล้ายตะขอแนบติดอับเรณู ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลรูปรีกว้าง เป็นสัน ห้อยลง
เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ว่านค้างคาว, สกุล) วงศ์ Balsaminaceae
พบที่แอฟริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม ล�าต้นส่วนมากอวบน�้า ใบเรียงเวียน เรียงตรงข้าม หรือเรียง
พบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น รอบข้อ ไม่มีหูใบหรือมีต่อมคล้ายหูใบ ขอบส่วนมากจักฟันเลื่อย ปลายจักมักมีต่อม
ความสูงระดับต�่า ๆ ป่าชายหาด หัวใต้ดินใช้ท�าแป้งเท้ายายม่อม เป็นติ่ง ดอกสมมาตรด้านข้าง ออกเดี่ยว ๆ เป็นคู่ เป็นกระจุก หรือเป็นช่อคล้าย
ช่อกระจะหรือช่อซี่ร่ม ส่วนมากออกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็ก ส่วนมากติดที่
เอกสารอ้างอิง โคนก้านดอก กลีบเลี้ยง (lateral sepals) มี 2 หรือ 4 กลีบ คู่ในมักมีขนาดเล็ก
Phengklai, C. (1993). Taccaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 5-7. หรือลดรูป กลีบปาก (lower sepal) รูปเรือ รูปกรวย หรือเป็นถุง มักมีเดือยเรียบ
หรือจัก 2 พู กลีบดอก 5 กลีบ กลีบกลาง (upper petal) บานออกหรือเป็นคุ่ม
มักมีสันด้านบน กลีบข้างหรือกลีบปีก (lateral united petals) เชื่อมติดกัน
หรือแยกเป็นกลีบคู่นอก (basal wings) และกลีบคู่ใน (distal wings) เกสรเพศผู้
5 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน อับเรณูติดกันเป็นวงคล้ายหมวก มีรังไข่และ
ยอดเกสรเพศเมียล้อมรอบ อับเรณูมี 2 ช่อง รังไข่มี 4-5 ช่อง พลาเซนตารอบ
แกนร่วม ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสร 1-5 อัน ผลแห้งแตก
รูปกระบองหรือรูปกระสวย บางครั้งเต่งกลาง เมล็ดขนาดเล็ก
สกุล Impatiens เป็นหนึ่งในสองสกุลของวงศ์ อีกสกุลคือ Hydrocera กลีบปีกแยกกัน
ผลแบบผลสดมีหลายเมล็ด ในไทยพบทั้ง 2 สกุล สกุล Impatiens มีประมาณ
เท้ายายม่อม: ใบประดับรูปใบหอก ใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย ติดทน ผลเป็นสัน (ภาพซ้าย: หาดในยาง ตรัง - RP; 1000 ชนิด ส่วนมากพบในแอฟริกา และเอเชีย ในไทยมีมากกว่า 80 ชนิด และมี
ภาพขวา: ตะรุเตา สตูล - PK) หลายชนิดนำาเข้ามาเป็นไม้ประดับ เช่น เทียนดอก I. balsamina L. เทียนนิวกินี
เท้ายายม่อมหลวง I. hawkeri W. Bull เทียนซีลอน I. repens Moon ex Wight และเทียนฝรั่ง I.
walleriana Hook. f. เป็นต้น ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “impatient” หมายถึง
Melochia umbellata (Houtt.) Stapf การแตกของผลอย่างรวดเร็ว
วงศ์ Malvaceae
ชื่อพ้อง Visenia umbellata Houtt. เทียนเขาปูน
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งอ่อนมีขนรูปดาวหนาแน่น หูใบรูปไข่หรือรูปขอบขนาน Impatiens jiewhoei Triboun & Suksathan
ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปหัวใจ ยาว 10-24 ซม. เส้นโคนใบ 5 เส้น ขอบจักฟันเลื่อย ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 70 ซม. ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน มีต่อมคู่
ก้านใบยาว 5-15 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ก้านช่อยาว 2-15 ซม. ช่อดอกย่อย ที่โคนใบ ก้านใบยาว 1-7.5 ซม. ดอกสีม่วง ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ ก้านดอกยาว
แบบช่อซี่ร่ม ดอกสีชมพูหรือขาว ก้านดอกยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย แยก 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่ ยาว 0.5-1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม คู่ใน
เป็น 5 แฉก รูปสามเหลี่ยมแคบ มีขนทั้งสองด้าน กลีบดอก 5 กลีบ แยกจรดโคน ยาวประมาณ 3 มม. กลีบปากเป็นถุง มีริ้วสีน�้าตาลแดง กว้างประมาณ 1.5 ซม.
รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน โคนเชื่อมติดกัน ลึกประมาณ 1.8 ซม. เดือยโค้งงอ ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบดอกกลีบกลางคล้าย
ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่มี 5 สัน มีขน ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน แยกกัน รูปเส้นด้าย รูปหัวใจ ยาวประมาณ 2 ซม. พับงอ ปลายกลีบเว้าตื้น กลีบปีกปลายกลีบเว้าตื้น
ยอดเกสรแหลม ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. มี 5 สัน ส่วนมากมี 1 เมล็ดใน คู่นอกรูปไข่ ยาวประมาณ 2.3 ซม. โคนมีปื้นสีเหลือง กลีบคู่ในรูปไข่ ยาวประมาณ
แต่ละช่อง ยาว 6-7 มม. รวมปีก 1 ซม. พับงอ ผลรูปกระบอง ยาว 1.5-2.5 ซม.
พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย นิวกีนี และออสเตรเลีย
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามเขา
สกุล Melochia L. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Byttner- หินปูน ความสูงประมาณ 100 เมตร ค�าระบุชนิดตั้งตาม Tan Jiew-Hoe ประธาน
ioideae มี 50-60 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิด คือ เส็งเล็ก M. corchorifolia L. สมาคมการจัดสวนของสิงคโปร์
เป็นไม้พุ่มเตี้ย ใบรูปไข่ถึงรูปแถบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ชื่อสกุลอาจมาจาก
ภาษากรีก “meli” น้ำาผึ้ง และ “echo” ถือ หมายถึงดอกไม้ที่ให้น้ำาหวาน เทียนคำา
Impatiens longiloba Craib
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 590-595. ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 3-11 ซม. ขอบ
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China จักมนถี่ มีต่อมคู่ใกล้โคน ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ก้านช่อ
Vol. 12: 320. ยาว 3-5 ซม. มี 2-4 ดอกในแต่ละช่อ ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับย่อยรูปเรือ
ยาวประมาณ 4 มม. ร่วงเร็ว ดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่ ยาวประมาณ
6 มม. ปลายมีติ่ง คู่ในรูปลิ่ม ยาวประมาณ 4 มม. กลีบปากเป็นถุงสีแดงอมเหลือง
ปากกลีบเบี้ยว กว้างประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ 3 ซม. เรียวยาวเป็นเดือยชี้ขึ้น
กลีบดอกกลีบกลางรูปไข่ ยาว 1-1.3 ซม. ปลายกลีบกลม กลีบปีกแฉกลึก ยาวประมาณ
2.5 ซม. คู่นอกรูปแถบ ยาวประมาณ 4 เท่าของคู่ใน ผลรูปกระสวย ยาวประมาณ
2.5 ซม. เมล็ดมีตุ่ม
พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ และเชียงราย ขึ้นตาม
ป่าดิบเขา ความสูง 2000-2500 เมตร
เทียนเชียงดาว
Impatiens chiangdaoensis T. Shimizu
ไม้ล้มลุก สูง 10-50 ซม. มีขนหยาบตามแผ่นใบด้านบน ก้านดอก ใบประดับ
กลีบเลี้ยง กลีบดอก และผล ใบเรียงเวียนหรือเรียงตรงข้ามตามโคนต้น รูปไข่กลับ
เท้ายายม่อมหลวง: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อย่อยแบบช่อซี่ร่ม ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน ผลมี 5 สัน (ภาพซ้ายบน:
เขาบรรทัด พัทลุง, ภาพขวา: ชุมพร; - RP); เส็งเล็ก: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น (ภาพซ้ายล่าง: นครนายก - RP) แกมรูปใบหอก ขอบจักมนห่าง ๆ มีต่อมคู่ใกล้โคน ขอบใบมีขนครุย ก้านใบยาว
199
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 199 3/1/16 5:28 PM