Page 189 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 189

ยาวประมาณ 1.5 มม. ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรยาว 2-2.5 มม. ผลจักเป็นพู   ตานซ่าน  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ตานด�า
                    เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. เมล็ดกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 มม.  Schizaea dichotoma (L.) Sm.
                       พบที่พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทย  วงศ์ Schizaeaceae
                    พบทุกภาค ขึ้นริมล�าธารในป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ   ชื่อพ้อง Acrostichum dichotomum L.
                    1500 เมตร ส่วน var. cochinchinensis หรือ ลิ้นกระบือ มีถิ่นก�าเนิดในภูมิภาค
                    อินโดจีน ท้องใบสีแดง เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน      เฟินขึ้นบนพื้นดิน มีเหง้าสั้น ๆ ทอดเลื้อย เส้นใยมีผนังกั้น มีขนสีน�้าตาลเป็น
                                                                        มันวาวปกคลุม ใบแตกกิ่งเป็นคู่ 2-6 ครั้ง แผ่เป็นรูปพัด ยาว 7-25 ซม. กิ่งแรก
                      เอกสารอ้างอิง                                     คล้ายก้านใบ กิ่งบนแผ่นใบกว้าง 3-4 มม. ก้านใบยาว 10-45 ซม. มีครีบคล้ายปีก
                       Li, B. and H.-J. Esser. (2008). Euphorbiaceae (Excoecaria). In Flora of China   ช่วงบน เหนียว ตั้งตรง ผิวเรียบเป็นมัน มีร่องด้านบน เส้นแขนงใบแยก 2 แฉก
                          Vol. 11: 280-281.
                       van Welzen, P.C. and H.-J. Esser. (2005). Euphorbiaceae (Excoecaria). In   อับสปอร์แยกเป็นแฉกรูปร่างคล้ายพัดขนาดเล็ก 5-10 คู่ แต่ละแฉกยาว 2-5 มม.
                          Flora of Thailand Vol. 8(1): 292-298.         อับสปอร์เรียงสองแถว ไม่มีเยื่อคลุม
                                                                           พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
                                                                        ส่วนมากพบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูง
                                                                        ระดับต�่า ๆ เหง้ามีสรรพคุณบรรเทาอาการไอและเจ็บคอ

                                                                           สกุล Schizaea Sm. คล้ายกับสกุลตานทราย Actinostachys ที่ใบออกเดี่ยว ๆ
                                                                           คล้ายหญ้า มี 20-21 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “schizae”
                                                                           แยก ตามลักษณะใบที่แตกกิ่ง
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                      ตาตุ่มทะเล: ใบเรียงเวียน ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง ผลจักเป็นพู   Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                    เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: อ่าวพังงา พังงา - SSi)          Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Schizaeaceae. In Flora of Thailand Vol.
                                                                              3(1): 57-58.
                                                                           Xianchun, Z. and J.T. Mickel. (2013). Schizaeaceae. In Flora of China Vol. 2-3: 122.







                      ตาตุ่มนก: ใบเรียงตรงข้าม แยกเพศร่วมต้น ช่อดอกสั้น ดอกเพศเมียอยู่ที่โคน ผลจักเป็นพู (ภาพซ้าย: ป่าละอู
                    ประจวบคีรีขันธ์ - SSi); ลิ้นกระบือ: ท้องใบสีแดง เป็นไม้ประดับ (ภาพขวา: cultivated - RP)
                    ตานงันเขา
                    Breynia villosa (Blanco) Welzen & Pruesapan
                    วงศ์ Phyllanthaceae
                      ชื่อพ้อง Kirganelia villosa Blanco, Sauropus villosus (Blanco) Merr.
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. มีขนหยาบยาวหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ก้านใบ
                    ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก หูใบยาว 2-4 มม. ใบรูปไข่ แกมรูปขอบขนาน
                                                                          ตานซ่าน: เฟินขึ้นบนดิน ใบแตกกิ่งเป็นคู่หลายครั้ง แผ่เป็นรูปพัด อับสปอร์แยกเป็นแฉกรูปร่างคล้ายพัดขนาดเล็ก
                    หรือรูปใบหอก ยาว 1.2-6.5 ซม. ปลายแหลม มีติ่ง ก้านใบยาว 1-2 มม. ดอกสีเหลือง  อับสปอร์เรียงสองแถว (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC; ภาพขวาล่าง: เกาะช้าง ตราด - PK)
                    อมเขียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยงยาว
                    ประมาณ 1.2 มม. โคนมีเกล็ด ดอกเพศเมีย ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. ก้านดอก  ตานดำา
                    และกลีบเลี้ยงขยายในผลเล็กน้อย ยอดเกสรเพศเมียยาว 0.5-0.7 มม. แผ่ราบ ผลรูปรี   Diospyros montana Roxb.
                    ยาว 8-9 มม. สีเหลืองอมส้ม เมล็ดรูปสามเหลี่ยม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ครามน�้า, สกุล)  วงศ์ Ebenaceae
                       พบที่เวียดนาม คาบสมุทรมลายูตอนบน สุมาตรา ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทาง
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งมีหนาม ใบรูปรี รูปขอบขนาน รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ
                    ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ มักขึ้นตามที่โล่ง ความสูงไม่เกิน 50 เมตร บางครั้ง  ยาว 2-12 ซม. แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบข้างละ 3-7 เส้น ก้านใบ
                    พบเป็นไม้ประดับ โดยมีชื่อทางการค้าว่า มะยมทอง
                                                                        ยาว 0.2-1 ซม. ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว
                      เอกสารอ้างอิง                                     1-2 มม. มี 4 กลีบ แฉกลึกเกือบจรดโคน มีขนประปรายทั้งสองด้าน ดอกรูปคนโท
                       van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sauropus). In Flora of Thailand Vol.   ยาว 0.8-1 ซม. มี 4 กลีบ แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง เกสรเพศผู้มี 14-20 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญ
                          8(2): 552-554.                                มีขนยาว ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. รังไข่มี 8 ช่อง เกลี้ยง
                                                                        ก้านเกสรเพศเมีย 4 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 4-12 อัน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                        1-3 ซม. กลีบเลี้ยงบานออกหรือพับงอกลับ ก้านผลยาว 5-7 มม. เอนโดสเปิร์มเรียบ
                                                                        (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
                                                                           พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค
                                                                        ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และตามเขาหินปูนในป่าดิบชื้น ความสูงถึง
                                                                        ประมาณ 600 เมตร ผลมีพิษใช้เบื่อปลา มีสรรพคุณเป็นยาสมาน ลดไข้ เปลือก
                                                                        แก้ปวดท้อง โรคบิด

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                      ตานงันเขา: มีขนหยาบยาวหนาแน่น ดอกเพศเมียก้านดอกสั้น ผลสุกสีเหลืองอมส้ม (ภาพ: สวี ชุมพร - RP)  Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 309-310.

                                                                                                                    169






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   169                                                                 3/1/16   5:28 PM
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194