Page 184 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 184

ตะแบก


                ตะแบก, สกุล         สารานุกรมพืชในประเทศไทย          ประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู้วงนอก 9-11 อัน ชี้ออกระหว่างช่องว่างกลีบดอก
                Lagerstroemia L.                                     ด้านเดียว รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 1 ซม. มีขนช่วงปลายผล
                วงศ์ Lythraceae                                        พบที่กัมพูชา และลาว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
                                                                     และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรังที่เป็นหินทราย ความสูง 200-350 เมตร
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น กิ่งอ่อนมักเป็นสี่เหลี่ยม ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม   ในหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทยระบุว่าอาจเป็นลักษณะที่เป็นต้นเตี้ย
                ไม่มีหูใบ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อย่อยแบบช่อกระจุก ใบประดับขนาดเล็ก   ของตะแบกเกรียบ L. cochinchinensis Pierre
                ร่วงเร็ว ปลายดอกตูมมักมีตุ่ม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกส่วนมากจ�านวนอย่างละ 6 กลีบ
                กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ผิวเรียบหรือเป็นสัน ติดทน บางครั้งมีริ้วประดับ  ตะแบกนา
                เป็นรยางค์ ดอกสีขาว ชมพู หรือม่วง มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ติดบน
                หลอดกลีบดอก ส่วนมากวงนอกมี 6-12 อัน ก้านชูอับเรณูหนาและอับเรณูใหญ่  Lagerstroemia floribunda Jack
                กว่าอันใน รังไข่ 3-6 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาว ยอดเกสรขนาดเล็ก ผลแห้งแตกเป็น   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง ใบเรียงตรงข้าม ส่วนมากรูปรี
                4-6 ซีก เมล็ดจ�านวนมาก แบน มีปีกติดที่สันขั้วเมล็ด   หรือรูปขอบขนาน ยาว 6-20 ซม. แผ่นใบค่อนข้างเกลี้ยง ก้านใบยาว 2-7 มม.
                                                                     ช่อดอกยาว 20-50 ซม. มีขนกระจุกสั้นนุ่มหนาแน่น ก้านดอกเทียมยาว 2-4 มม.
                   สกุล Lagerstroemia มีประมาณ 55 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและออสเตรเลีย   หลอดกลีบเลี้ยงยาว 5-6 มม. มี 10-12 สัน หรือไม่ชัดเจน มีขนกระจุกสีน�้าตาล
                   ในไทยมี 18 ชนิด และเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ ยี่เข่ง L. indica L. ชื่อสกุลตั้งตาม  หนาแน่น ปลายแยกเป็น 6 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-4 มม. มีหรือไม่มีติ่ง
                   พ่อค้าชาวสวีเดน Magnus von Lagerström (1696-1759) ผู้เก็บตัวอย่างพรรณไม้   ระหว่างกลีบ ดอกสีชมพูหรือม่วง สีขาวซีดในดอกแก่ มี 6 กลีบ รูปขอบขนาน
                   และเป็นเพื่อนของ Carl Linnaeus อนึ่ง ลักษณะเปลือกของสกุลตะแบกแบ่งได้   ยาว 0.8-1.5 ซม. ก้านกลีบยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้วงนอก 6-7 อัน รังไข่มีขน
                   กว้าง ๆ 3 แบบ คือ เปลือกแบบตะแบก บางลอกเป็นแผ่น เรียบหรือเป็นหลุมตื้น ๆ   สั้นนุ่มหนาแน่น ผลรูปรี ยาว 1.2-1.8 ซม. มีขนประปราย หนาแน่นช่วงปลายผล
                   เปลือกแบบเสลา หนา แตกเป็นร่องตามยาว และเปลือกแบบอินทนิล มีลักษณะ
                   กึ่งทั้งสองแบบ                                      พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบแทบทุกภาค
                                                                     ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และ
                ตะแบกเกรียบ                                          ชายป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 850 เมตร นิยมปลูกเป็นไม้ประดับตามสวน
                Lagerstroemia cochinchinensis Pierre                 สาธารณะ และสองข้างถนน
                  ชื่อพ้อง Lagerstroemia collinsae Craib             ตะแบกเปลือกบาง
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามใบอ่อน   Lagerstroemia duperreana Pierre ex Gagnep.
                เส้นแขนงใบด้านล่าง ช่อดอก และหลอดกลีบเลี้ยงด้านนอก กิ่งด้านข้างมัก
                เปลี่ยนรูปเป็นหนาม ใบรูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 4-15 ซม. ก้านใบยาว   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว
                0.2-1 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกเทียมยาวประมาณ   8-15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3-5 มม. ช่อดอก
                2 มม. ขยายในผลเล็กน้อย หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ ยาวประมาณ 8 มม. กลีบรูปสามเหลี่ยม   ยาว 10-20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6-1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขน
                ยาว 3-4 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีชมพู ม่วง หรืออมขาว กลีบรูปรีกว้าง  กระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5-6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่าง
                เกือบกลม ยาว 1.5-3 ซม. รวมก้านกลีบที่ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอก   กลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง
                6 อัน รังไข่มีขนสีขาว ผลรูปรีเกือบกลม ยาว 1.4-1.7 ซม. เกลี้ยงหรือมีขนช่วง  กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1-1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม.
                ปลายผล                                               เกสรเพศผู้วงนอกมี 6-7 อัน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2-1.7 ซม. เกลี้ยง
                   พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง   หรือมีขนช่วงปลายผล
                ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร   พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                     และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเต็งรังที่เป็นหินทราย ความสูง
                ตะแบกดอกขาว                                          100-400 เมตร แยกเป็น var. saxatilis W. J. de Wilde & Duyfjes ต้นขนาดเล็ก
                Lagerstroemia huamotensis W. J. de Wilde & Duyfjes   ช่อผลมีจ�านวนน้อย ดอกขนาดใหญ่กว่า พบเฉพาะที่อุบลราชธานี
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ส่วนมากสูง 4-5 ม. ล�าต้นแคระแกร็น หรืออาจสูงได้ถึง 15 ม.   เอกสารอ้างอิง
                เปลือกค่อนข้างหนา ลอกเป็นแผ่นคล้ายเปลือกแบบตะแบก ใบรูปไข่หรือรูปไข่กลับ   de Wilde, W.J.J.O., B.E.E. Duyfjes and P. Phonsena. (2014). Lythraceae. In
                                                                          Flora of Thailand Vol. 11(4): 553-580.
                ยาว 4-10 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 2-4 มม. ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง ยาว   Furtado, C.X. (1969). A revision of Lagerstroemia L. (Lythraceae). Gardens’
                2-5 ซม. ก้านดอกเทียมยาว 0.8-1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ กลีบรูปสามเหลี่ยม   Bulletin Singapore 24: 185-335.
                ยาวประมาณ 5 มม. เกลี้ยง ดอกสีขาว กลีบรูปรีเกือบกลม ยาว 1.2-1.5 ซม. ก้านกลีบ  Qin, H., S.A. Graham and M.G. Gilbert. (2007). Lythraceae (Lagerstroemia). In
                ยาว 0.8-1 ซม. เกสรเพศผู้วงนอก 10-12 อัน ก้านชูอับเรณูสีม่วง อับเรณูสีด�า วงใน  Flora of China Vol. 13: 277-281.
                สีเขียวอมขาว อับเรณูสีเหลือง รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรี ยาว 2-2.5 ซม. หลอดกลีบเลี้ยง
                รูปรีกว้าง กว้าง 1-1.5 ซม. ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบยาว 5-7 มม.
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนล่างที่ดอยหัวหมด จังหวัดตาก และ
                ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นบนเขาหินปูนที่เปิดโล่ง ความสูง 750-1000 เมตร


                ตะแบกเตี้ย
                Lagerstroemia noei Craib
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 8 ม. เปลือกบาง ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่
                ยาว 3-8.5 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนกระจุกรูปดาวหนาแน่น ก้านใบยาว 3-5 มม.
                ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง ยาว 7-27 ซม. มีขนสั้นนุ่มและขนกระจุกสีน�้าตาลแดง
                ก้านดอกเทียมยาวประมาณ 2 มม. ขยายในผลเล็กน้อย หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ
                ยาว 5-7 มม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 5 มม. ปลายกลีบ
                                                                      ลักษณะเปลือก: เปลือกแบบตะแบกของ L. floribunda Jack (ภาพซ้าย: cultivated - RP); เปลือกแบบเสลาของ
                ด้านในมีขน ดอกสีชมพูอมม่วง กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 0.8-1.2 ซม. ก้านกลีบยาว  L. loudonii Teijsm. & Binn. (ภาพขวา: cultivated - RP)

                164






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   164                                                                 3/1/16   5:26 PM
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189