Page 183 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 183
ตะเคียนหิน สารานุกรมพืชในประเทศไทย ตะไคร้หางสิงห์
Hopea ferrea Laness.
วงศ์ Dipterocarpaceae
ไม้ต้น สูง 10-30 ม. โคนต้นมีพูพอน เปลือกส่วนมากแตกเป็นสะเก็ดตามยาว
ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-10 ซม. บางครั้งเบี้ยว ปลายยาวคล้ายหาง
เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันไดถี่ มักมีต่อมใบเป็นจุดนูน ก้านใบยาว 1-1.3 ซม.
ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ช่อดอกยาว 3.5-8 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ดอกสีขาวครีม
กลีบรูปรี ยาว 2-3 มม. ขอบกลีบเป็นชายครุย เกสรเพศผู้ 15 อัน รังไข่และฐาน
ตะเคียนราก: โคนต้นมีพูพอน เปลือกแตกเป็นสะเก็ดตามยาว เส้นแขนงใบแบบเส้นใบแซม กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก ก้านเกสรเพศเมียรูปลูกแพร์ ยาว 2 มม. เกลี้ยง กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก ปีกยาว ยาว
ผลอ่อนปีกมีสีน�้าตาลแดง (ภาพ: ตราด - MP) 3-4 ซม. ปีกสั้น ยาว 2.5-4 มม. ผลรูปกระสวย ยาว 1-1.3 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
ตะเคียนหนู, สกุล ตะเคียนทอง, สกุล)
พบในภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นกระจายตาม
Anogeissus (DC.) Wall. ex Guill., Perr. & A. Rich. ป่าดิบแล้ง ทางภาคใต้ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
วงศ์ Combretaceae
ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม ช่อดอกออกเป็นกระจุกแน่น เอกสารอ้างอิง
Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
ทรงกลม ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ส่วนมากเป็นสันหรือมีปีก ปลายแยก Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 72-73.
เป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง
วงในติดตรงข้ามกลีบเลี้ยง วงนอกติดบนกลีบเลี้ยง รังไข่ใต้วงกลีบ มี 1 ช่อง แต่ละช่อง
มีออวุล 2 เม็ด ผลกลุ่ม ผลย่อยแห้ง มีสันหรือเป็นปีก ปลายมีกลีบเลี้ยงติดทน
คล้ายเป็นจะงอย
สกุล Anogeissus เดิมอยู่ภายใต้สกุล Conocarpus section Anogeissus DC.
มีประมาณ 10 ชนิด พบในแอฟริกา และเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิด
คือ ตะเคียนน้ำา A. rivularis (Gagnep.) O. Lecompte ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“ano” ตั้งขึ้น และ “geisson” กระเบื้อง ตามลักษณะยอดผลที่มีสันคล้ายกระเบื้อง
ตะเคียนหนู
Anogeissus acuminata (Roxb. ex DC.) Wall. ex Guill., Perr. &
A. Rich.
ชื่อพ้อง Conocarpus acuminatus Roxb. ex DC.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ใบอ่อน ก้านดอก ตะเคียนหิน: โคนต้นมีพูพอน ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ผลรูปกระสวย (ภาพต้นและใบ: บึงกาฬ, ภาพผล: กระบี่; - RP)
และผล ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 3.5-8 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนยาว ตะไคร้หางสิงห์
เส้นแขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 2-6 มม. ช่อดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง
1-1.7 ซม. ก้านช่อยาว 0.6-2 ซม. ใบประดับมี 1-2 คู่ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว Phyllanthus taxodiifolius Beille
3-5 มม. ก้านดอกยาว 4-6 มม. ใบประดับย่อยรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-2 มม. หลอดกลีบ วงศ์ Phyllanthaceae
ยาวประมาณ 1 มม. โคนมีขน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยมตื้น ๆ ก้านชูอับเรณู ไม้พุ่ม สูง 0.5-2 ม. แยกเพศร่วมต้น กิ่งเป็นเหลี่ยม หูใบรูปใบหอก ยาว 1-2 มม.
ยาว 3-4 มม. รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลย่อยกว้าง ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปใบหอกหรือรูปแถบ เบี้ยว ยาว 3-5 มม. ปลายมี
4-7 มม. ยาว 4 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 6 มม. รวมจะงอย ติ่งแหลม เส้นแขนงใบข้างละ 3-4 เส้น ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นกลุ่มตามซอกใบ
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ไม่มีกลีบดอก ก้านดอกยาว 2-3 มม. ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ ยาว
ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง มักขึ้นบนเขาหินปูน ความสูงถึง ประมาณ 0.5 มม. จานฐานดอกเป็นแผ่นต่อม 4 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน
ประมาณ 750 เมตร ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระ และเชื้อแบคทีเรีย ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. จานฐานดอก
รูปถ้วย จักมน รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียปลายแยกเป็น 3 แฉก ยาว 0.2-0.3 มม.
เอกสารอ้างอิง ผลแห้งแตก รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-7 มม. มี 6 ริ้ว แตกเป็น 3 ซีก ก้านผล
Chen, J. and N.J. Turland. (2007). Combretaceae. In Flora of China Vol. 13: 314.
Scott, A.J. (1979). A revision of Anogeissus (Combretaceae). Kew Bulletin 33: ยาวประมาณ 3 มม. มี 2 เมล็ดในแต่ละซีก รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2.5 มม.
555-566. มีเส้นใยฝอย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักหวานดง, สกุล)
พบที่จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก และภาคกลาง ขึ้นตามที่โล่งใกล้แหล่งน�้า ความสูง 50-700 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand
Vol. 8(2): 503-504.
ตะไคร้หางสิงห์: กิ่งเป็นเหลี่ยม ใบออกหนาแน่นเรียงสลับระนาบเดียว ดอกเพศผู้ออกเป็นกลุ่มตามซอกใบ ก้านดอก
ตะเคียนหนู: ช่อดอกทรงกลม ออกตามซอกใบ ก้านดอกมีขนหนาแน่น เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง (ภาพ: เชียงใหม่ - SSi) รูปเส้นด้าย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ผลมี 6 ริ้ว (ภาพ: ปากแม่น�้าสงคราม นครพนม - PK)
163
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 163 3/1/16 5:26 PM