Page 179 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 179
ตะคล้อยย่าน
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Schleichera Willd. มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ กลีบดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 มม. ก้านชูอับเรณูเกลี้ยงหรือมีขนยาว
ชาวเยอรมัน Johann Christoph Schleicher (1768-1834) อันตรงข้ามกลีบดอกยาว 1.5-2 มม. อันตรงข้ามกลีบเลี้ยงยาวกว่าเล็กน้อย รังไข่มีขน
ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5-2 มม. มีขนยาว ผลรูปกลม เบี้ยว เส้นผ่านศูนย์กลาง
เอกสารอ้างอิง
Iwasa, S. (1997). Schleichera oleosa (Lour.) Oken. In Plant Resources of 0.5-1 ซม. เกสรเพศเมียติดทน มักติดเบี้ยวด้านข้าง ส่วนมากมี 1-2 ไพรีน
South-East Asia 11. Auxiliary plants. Backhuys Publishers, Leiden, The พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ในไทยพบทางภาคเหนือตอนล่าง
Netherlands.
van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 241. ภาคกลาง และภาคใต้ ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร ส่วน
var. floribunda มีหูใบย่อยชัดเจน พบที่ภูมิภาคมาเลเซีย ออสเตรเลีย และทาง
ภาคใต้ของไทย
เอกสารอ้างอิง
Leenhouts, P.W. (1956). Burseraceae. In Flora Malesiana Vol. 5: 215-218.
Peng, H. and M. Thulin. (2008). Burseraceae (Garuga). In Flora of China Vol.
11: 107-108.
Pooma, R. (1999). A preliminary account of Burseraceae in Thailand. Thai Forest
Bulletin (Botany) 27: 57-58.
ตะคร้อ: ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย 2-4 คู่ โคนใบเบี้ยว ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกไม่แยกแขนง
ไม่มีกลีบดอก ผลสด รูปรีเกือบกลม ปลายมีติ่งแหลม (ภาพ: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี; ภาพช่อดอก - SSi, ภาพช่อผล - PK)
ตะคร้ำา, สกุล
Garuga Roxb.
วงศ์ Burseraceae
ไม้ต้น มีชันใส ส่วนมากมีหูใบและหูใบย่อย ใบประกอบ เรียงเวียน ใบย่อย
เรียงตรงข้าม ใบย่อยคู่ล่างมักลดรูป ขอบใบจักฟันเลื่อยหรือจักมน เส้นแขนงใบ
ตะคร�้า: ใบประกอบ เรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่งเป็นกระจุก (ภาพ: ถ�้าเพชรถ�้าทอง
เรียงจรดกัน ก้านใบย่อยสั้น ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่งเป็นกระจุก นครสวรรค์; ภาพช่อดอก - PK, ภาพช่อผล - RP)
ออกก่อนหรือพร้อมผลิใบใหม่ ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ดอกสมบูรณ์เพศ
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ ดอกสีเหลืองครีม เกสรเพศผู้ 10 อัน
ติดบนจานฐานดอกที่จักเป็นพู 10 พู รังไข่มีก้านสั้น เกสรเพศเมียรูปทรงกระบอก
ยอดเกสรเพศเมียจัก 5 พู ผลผนังชั้นในแข็ง มี 1-5 ไพรีน ไพรีนมีเมล็ดเดียว
สกุล Garuga มีประมาณ 90 ชนิด ในไทยมีประมาณ 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจาก
ภาษาพื้นเมืองเตลูกูในอินเดีย “garugu” ที่ใช้เรียกตะคร้ำา
ตะคร้ำา
Garuga pinnata Roxb.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามหูใบด้านนอก แกนใบประกอบ ใบประดับ
ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก หูใบรูปใบหอกยาว 0.5-1 ซม. บางครั้ง
มีหูใบย่อย รูปรี ยาว 2-5 ซม. ใบย่อยมี 5-10 คู่ ก้านใบประกอบยาวได้ถึง 10 ซม.
ใบย่อยรูปรีถึงรูปใบหอก เบี้ยว ยาว 5-13 ซม. ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านดอกยาว
1-3 มม. ดอกยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. กลีบดอก ตะคร�้าหิน: ช่อดอกออกตามปลายกิ่งเป็นกระจุก ผลขนาดเล็ก เบี้ยว เกสรเพศเมียติดทน มักติดเบี้ยวด้านข้าง
รูปใบหอกกลับ ยาว 5-5.5 มม. โคนก้านชูอับเรณูยาว ยาว 2-4 มม. อันตรงข้าม (ภาพ: ถ�้าเพชรถ�้าทอง นครสวรรค์; ภาพช่อดอกและดอก - PK, ภาพใบและผล - NT)
กลีบเลี้ยงยาวกว่าอันตรงข้ามกลีบดอก โคนมีขนยาว รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมีย
ยาว 3-5 มม. มีขนยาว ผลเบี้ยว เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. มี 1-5 ไพรีน ตะคล้อยย่าน
พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบ Aganosma wallichii G. Don
กระจายหนาแน่นแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง วงศ์ Apocynaceae
ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร เปลือกมีสรรพคุณลด ไม้เถา น�้ายางสีขาว กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง ช่อดอก กลีบเลี้ยง
น�้าตาลในเลือด ผลใช้เบื่อปลา และปลายกลีบดอกด้านนอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรี ยาว 6-14.5 ซม. ก้านใบยาว
0.8-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 5.5-19.5 ซม.
ตะคร้ำาหิน ก้านดอกยาว 0.8-1.7 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 1.4-2.3 ซม. ปลาย
Garuga floribunda Decne. var. gamblei (King ex W. W. Sm.) Kalkman แหลมยาว มีต่อมประปรายที่โคนหรือไม่มี ดอกรูปดอกเข็ม กลีบเรียงซ้อนทับ
ชื่อพ้อง Garuga gamblei King ex W. W. Sm. ด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบยาว 0.8-1.4 ซม. ปากหลอดกลีบเกลี้ยง ปลายแยก
ไม้ต้น ส่วนมากสูงไม่เกิน 10 ม. มีขนสั้นนุ่มตามช่อดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอก เป็น 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบ ปลายตัด ไม่มีกะบัง เกสรเพศผู้ติด
หูใบรูปใบหอก ยาว 2-3 มม. ร่วงเร็ว ก้านใบประกอบยาวได้ถึง 6 ซม. มีใบย่อย ใกล้โคนหลอดกลีบดอกด้านใน จานฐานดอกยาวกว่ารังไข่ ยาว 2-3 มม. ปลายเรียว
5-8 คู่ รูปรีหรือรูปขอบขนาน เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 2-9 ซม. ช่อดอกยาว 20-35 ซม. แคบ จักตื้น ๆ 5 แฉก มี 2 คาร์เพล เชื่อมติดกันตอนปลายจรดก้านเกสรเพศเมีย
ก้านดอกยาว 1-3 มม. ดอกยาว 4-6 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก มีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม.
159
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 159 3/1/16 5:25 PM