Page 176 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 176
ตองหนาม
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ก้านใบยาว 1.5-11 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงหรือคล้ายช่อกระจะ
ออกที่ปลายกิ่ง มีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 16 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาว
กว่า 2 เท่า ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ก้านดอกยาว 2-5 มม. ดอกเพศผู้
ออกเป็นกระจุก 3 ดอก กลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม. มีขนกระจุก
สั้นนุ่ม กลีบดอกสั้นกว่ากลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ
กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 3-4 มม. มีขนกระจุกสั้นนุ่ม ไม่มี
กลีบดอก รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแยก 2 แฉก
ผลแห้งแตก มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.5 ซม. มีขนสั้นนุ่มสีเหลืองอมน�้าตาล
หนาแน่น มี 2-3 เมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 2 ซม.
ตองหนาม: ปาล์มแตกกอ ใบแบบขนนก ก้านและกาบยาว มีหนามเป็นกระจุกหนาแน่น ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา (ภาพ: แม่ฮ่องสอน - MP)
บอร์เนียว และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และ
ป่าดิบชื้น โดยเฉพาะที่เป็นหินปูน ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร เมล็ดกินได้ ตองอาน
Phytocrene bracteata Wall.
สกุล Sumbaviopsis J. J. Sm. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Acalyphoideae เผ่า Chro- วงศ์ Icacinaceae
zophoreae และเผ่าย่อย Doryxylinae มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลหมายถึงคล้าย
กับสกุล Sumbavia ซึ่งเป็นชื่อเกาะในอินโดนีเซีย ไม้เถาเนื้อแข็ง แยกเพศต่างต้น เถามีตุ่มคล้ายหนามขนาดเล็กประปราย มี
ขนตามกิ่งอ่อน และแผ่นใบด้านล่าง ใบเรียงเวียนห่าง ๆ รูปไข่กว้าง หรือจัก 3 พู
เอกสารอ้างอิง ยาว 10-20 ซม. ปลายแหลม โคนเว้าตื้น เส้นโคนใบข้างละ 1-3 เส้น ก้านใบยาว
van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sumbaviopsis). In Flora of Thailand 3-7 ซม. ช่อดอกเพศผู้คล้ายช่อเชิงลดแยกแขนง ยาว 10-20 ซม. ออกตามซอกใบ
Vol. 8(2): 562-564. หรือล�าต้น มีขนสั้นนุ่ม ช่อย่อยแบบช่อกระจุกแน่น มี 12-15 ดอก ใบประดับรูป
เส้นด้าย ยาวได้ถึง 1 ซม. ติดทน ดอกขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงมี 3-5 กลีบ กลีบดอก
3-4 กลีบ เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 3-4 อัน เชื่อมติดกันสั้น ๆ รังไข่เป็นหมันมีขนยาว
ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อหนา ออกตามซอกใบ 1-3 ช่อ
ดอกคล้ายดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมียหนา ยอดเกสรจัก 2 พู ผลกลุ่ม ผลย่อย
ผนังชั้นในแข็ง เรียงหนาแน่นเป็นกระจุกกลม เส้นผ่านศูนย์กลางยาวได้ถึง 20 ซม.
ผลย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 4.5-8 ซม. มีขนหนาแน่น ผนังชั้นในแข็ง มีรูพรุน
พบที่พม่า ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้
ที่ป่าละอู จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และภาคใต้ที่ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
ขึ้นตามป่าดิบชื้นที่มีหินปูน ความสูงถึงประมาณ 450 เมตร
สกุล Phytocrene Wall. มี 11 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย โดยเฉพาะภูมิภาคมาเลเซีย
ในไทยมี 3 ชนิด อีก 2 ชนิด พบเฉพาะทางภาคใต้ตอนล่าง ชื่อสกุลมาจากภาษา
กรีก “phyto” พืช และ “crene” น้ำาพุ หมายถึงเถามีน้ำาจำานวนมาก
ตองผ้า: โคนใบแบบก้นปิด แผ่นใบด้านล่างมีขนสีขาวหนาแน่น ผลแห้งแตก มี 3 พู มีขนสั้นนุ่มสีเหลืองอมน�้าตาล
หนาแน่น (ภาพ: แม่สอด ตาก - RP) เอกสารอ้างอิง
Sleumer, H. (1970). Icacinaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 85-87.
ตองหนาม
Salacca griffithii A. J. Hend.
วงศ์ Arecaceae
ปาล์มแตกกอ ล�าต้นสั้นอยู่ใต้ดิน แยกเพศต่างต้น ใบแบบขนนก เรียงเวียน
มี 10-15 ใบ ก้านและกาบยาวได้ถึง 3 ม. มีหนามเป็นกระจุก 2-10 อัน หนาแน่น
แกนกลางใบยาวได้ถึง 4.5 ม. ใบย่อยข้างละ 35-42 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบ
ยาว 0.8-1.25 ซม. ไร้ก้าน มีหนามกระจายตามเส้นใบ ใบปลายมักเชื่อมติดกัน
ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด มีหลายช่อออกชิดกันที่ยอด โคนช่อมีใบลดรูป ใบประดับ
เรียงซ้อนกัน ใบประดับย่อยด้านล่างมีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 1 ม.
ช่อย่อยยาว 13-24 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกจากในหลุม กลีบเลี้ยงเป็นหลอด
ปลายแยก 3 แฉก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดบนปากหลอดกลีบดอก ช่อดอกเพศเมียยาว
30-40 ซม. ช่อย่อยยาว 8-12 ซม. ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นคู่กับ
ดอกเพศผู้ที่เป็นหมัน รังไข่มี 3 ช่อง ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลรูปไข่กลับ กว้าง
6-8 ซม. ยาว 5-6 ซม. มีเกล็ดเป็นหนามสีแดงหุ้มหนาแน่น มี 1-3 เมล็ด ผนังหนา ตองอาน: ใบเรียงเวียนห่าง ๆ ช่อดอกเพศผู้คล้ายช่อเชิงลดแยกแขนง ออกตามล�าต้น ใบประดับรูปเส้นด้าย ติดทน
พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภาคเหนือของไทยที่แม่ฮ่องสอน ขึ้นตามที่โล่งมีน�้าขัง ผลย่อยเรียงหนาแน่นเป็นกระจุกกลม (ภาพดอก: ป่าละอู ประจวบคีรีขันธ์, ภาพผลและใบ: สุราษฎร์ธานี; - RP)
หรือริมล�าธารในป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร ต้อยติ่ง
สกุล Salacca Reinw. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Calamoideae เผ่า Calameae มี 20 ชนิด Ruellia tuberosa L.
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมี 4 ชนิด วงศ์ Acanthaceae
รวมถึงระกำา S. wallichiana Mart. ที่เป็นไม้ผล ส่วนสละ S. zalacca (Gaertn.) ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. มีรากสะสมอาหาร ตามข้อบวม ใบเรียงตรงข้าม รูปรี
Voss มีถิ่นกำาเนิดในอินโดนีเซีย ชื่อสกุลมาจากชื่อพื้นเมือง “Salak” ที่ใช้เรียกสละ รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-8 ซม. แผ่นใบมักมีขนสั้นแข็งกระจายทั้ง
เอกสารอ้างอิง 2 ด้าน ก้านใบยาวได้ถึง 8 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ
Pongsattayapipat, R. (2013). Arecaceae (Salacca). In Flora of Thailand Vol. ใกล้ปลายกิ่ง ก้านช่อยาวได้ถึง 2.5 ซม. ใบประดับเรียงตรงข้าม รูปใบหอก ยาว
11(3): 484-490. 3-9 มม. ก้านดอกยาว 0.6-1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 6 มม. ปลายแยกเป็น
156
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 156 3/1/16 5:24 PM