Page 173 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 173

ตองแข้ง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                           พบที่บังกลาเทศ ภูฏาน อินเดีย จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                                                                        และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา
                                                                        และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร น�้าคั้นจากเหง้าแก้ตาอักเสบ ห้ามเลือด
                                                                        และแก้ปวดท้อง
                                                                           สกุล Molineria Colla ซึ่งดอกออกเป็นกระจุกแน่นต่างจากสกุล Curculigo ที่มี
                                                                           ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม และต่างจากสกุล Hypoxis ที่มีผลแห้งแตก จำานวนชนิดยัง
                      ตรึงบาดาล: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ก้านชูอับเรณูยาว 1 อัน อันสั้น 9 อัน อับเรณูยาวเท่า ๆ กัน (ภาพ: cultivated - RP)  ไม่แน่นอน พบในเอเชียเขตร้อน และแอฟริกา ในไทยมี 3-4 ชนิด ชื่อสกุลตั้ง
                    ตองกง                                                  ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Ignazio Bernardo Molineri (1741-1818)
                    Thysanolaena latifolia (Roxb. ex Hornem.) Honda       เอกสารอ้างอิง
                                                                           Ji, Z. and A.W. Meerow. (2000). Amaryllidaceae (Curculigo). In Flora of China
                    วงศ์ Poaceae                                              Vol. 24: 271.
                      ชื่อพ้อง Melica latifolia Roxb. ex Hornem.
                       หญ้าล้มลุก สูงได้ถึง 3 ม. ใบรูปแถบ ยาว 16-50 ซม. โคนรูปหัวใจ กาบใบ
                    สั้นกว่าปล้อง ลิ้นกาบบาง ปลายตัด ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 30-65 ซม.
                    แกนช่อเป็นเหลี่ยม ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน ก้านช่อแบน ร่วงพร้อมช่อ
                    ยาวประมาณ 2 มม. กาบช่อย่อยล่างรูปไข่ ยาวประมาณ 0.6 มม. ปลายมน ขอบมีขน
                    เส้นกาบ 1 เส้น กาบช่อย่อยบนรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 0.8 มม. ปลายแหลม
                    เส้นกาบ 1 เส้น มีดอกย่อย 2 ดอก ดอกล่างลดรูป ดอกบนสมบูรณ์เพศ กาบ
                    รูปใบหอก กาบล่างยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนยาว เส้นกาบ 3 เส้น กาบบนยาว
                    ประมาณ 1 มม. ปลายมีรยางค์ยาวประมาณ 1 มม. เส้นกาบ 1 เส้น เกสรเพศผู้
                    3 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแห้งเมล็ดติด เรียว ยาว 0.5-1 มม.
                                                                          ตองกาย: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นออกตามซอกใบ ก้านช่อยาว มีขนหนาแน่น กลีบรวม 6 กลีบ ก้านชูอับเรณูสั้น
                       พบที่อินเดีย จีน พม่า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ประดับหรือพืช  (ภาพ: เขาพนมเบญจา กระบี่ - RP)
                    เลี้ยงสัตว์ ในอเมริกา แอฟริกา และยุโรป ในไทยพบทุกภาค ขึ้นเป็นวัชพืช ความสูง
                    ถึงประมาณ 1800 เมตร ทั้งต้นใช้แก้ความดันโลหิตต�่า และสภาวะกล้ามเนื้อเกร็ง   ตองแข้ง
                    ใบใช้ห่อข้าวเหนียว ใช้เลี้ยงสัตว์ ช่อดอกใช้ท�าไม้กวาด   Chondrostylis kunstleri (King ex Hook. f.) Airy Shaw
                                                                        วงศ์ Euphorbiaceae
                       สกุล Thysanolaena Nees อยู่ในเผ่า Thysanolaeneae มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจาก  ชื่อพ้อง Mallotus kunstleri King ex Hook. f.
                       ภาษากรีก “thysanos” พู่ และ “chlaena” เสื้อคลุม ตามลักษณะกาบล่างที่มีขนยาว
                                                                           ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบรูปแถบ ยาว 0.7-1 ซม.
                      เอกสารอ้างอิง                                     ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-45 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง
                       Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya.   ก้านใบยาว 2-10 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 25 ซม.
                          Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore.
                       Liu, L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Thysanolaena). In Flora of China   ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ยาว 2-3 มม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงมี
                          Vol. 22: 446.                                 3-4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2.5 มม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน
                                                                        ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 มม. ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยงคล้ายใบประดับ มี 5 กลีบ รูปรี
                                                                        ยาวประมาณ 1.5 มม. จานฐานดอกขอบจัก มีขน เกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย
                                                                        ยาวประมาณ 2 มม. ปลายแยกเป็นแฉก ผลแห้งแตก มี 3 พู รูปรีกว้าง ยาว 0.5-1.5 ซม.
                                                                        เมล็ดรูปไข่กลับ มีจุกขั้ว ยาว 0.5-1.2 ซม.
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา นราธิวาส
                                                                        ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 50-1500 เมตร

                                                                           สกุล Chondrostylis Boerl. มี 2 ชนิด พบในภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมีชนิดเดียว
                                                                           ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “chondros” กระดูกอ่อน และ “stylos” ก้านเกสรเพศเมีย
                      ตองกง: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่งข้างทางหรือชายป่า ใบค่อนข้างใหญ่ คล้ายใบไผ่ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อดอกย่อย  เอกสารอ้างอิง
                    ออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน (ภาพ: ฝาง เชียงใหม่ - SSi)      van Welzen, P.C. and S. Sevilla. (2005). Euphorbiaceae (Chondrostylis). In
                                                                              Flora of Thailand Vol. 8(1): 155-156.
                    ตองกาย
                    Molineria capitulata (Lour.) Herb.
                    วงศ์ Hypoxidaceae
                      ชื่อพ้อง Leucojum capitulatum Lour., Curculigo capitulata (Lour.) Kuntze
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. มีเหง้า ไหลเรียวยาว ส่วนมากมี 4-7 ใบ แผ่นรูปขอบขนาน
                    หรือรูปใบหอก ยาว 40-90 ซม. ใบพับจีบ ก้านใบยาว 30-80 ซม. ช่อดอกแบบ
                    ช่อกระจุกแน่น ออกตามซอกใบ ก้านช่อยาว 10-30 ซม. มีขนยาวสีน�้าตาลหนาแน่น
                    ช่อรูปรีกว้าง กว้างยาว 2.5-5 ซม. ใบประดับรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม.
                    มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกสั้น ดอกสีเหลือง กลีบรวมมี 6 กลีบ เรียง 2 วง รูปไข่แคบ ยาว
                    ประมาณ 8 มม. ปลายกลีบมน กลีบวงนอกมีขนด้านนอก กลีบวงในมีขนที่โคนหรือ
                    บนเส้นกลางกลีบ เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบรวม ยาว 5-6 มม. ก้านชูอับเรณูยาว
                    ประมาณ 1 มม. อับเรณูรูปแถบ ยาวประมาณ 5 มม. รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมีย
                    ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลสด สีขาว เส้นผ่านศูนย์กลาง
                    4-5 มม. มีหลายเมล็ด ขนาดเล็ก สีด�า มีริ้ว             ตองแข้ง: ช่อผลแบบช่อแยกแขนง ออกตามซอกใบ ผลแห้งแตก มี 3 พู รูปรีกว้าง (ภาพ: เบตง ยะลา - RP)

                                                                                                                    153






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   153                                                                 3/1/16   5:23 PM
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178