Page 169 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 169
เดื่อน�้ำ
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ยาว 3.5-14 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
รูปไข่ ยาว 1-3 มม. มีต่อมเรียงเป็นแถวที่โคน ดอกรูปดอกเข็ม สีขาว มี 5 กลีบ
เรียงซ้อนทับกันด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบยาว 0.7-1.2 ซม. กลีบรูปไข่กลับ
ยาว 5-8 มม. ปากหลอดกลีบมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้ปากหลอดกลีบ
เกือบไร้ก้าน อับเรณูมีขนเป็นแนว 5 แนว ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย
จานฐานดอกแยกเป็น 5 พู รังไข่เกลี้ยง คาร์เพลแยกกัน ปลายติดกันเรียวยาว
เป็นก้านเกสรเพศเมีย ยาว 8-9 มม. ผลเป็นฝักคู่แยกกัน รูปแถบ ยาว 10-27 ซม.
เมล็ดรูปแถบ แบน ยาว 1.8-3.5 ซม. ปลายมีขนกระจุกยาว 2-3.6 ซม.
พบที่อินเดีย จีน เกาหลี ญี่ปุ่น พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจาย
แทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูง
200-1000 เมตร
สกุล Trachelospermum Lem. มีประมาณ 10 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ในไทย
ดูกไก่: ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม ออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงแยกเป็น 4-5 แฉกขนาดเล็ก ดอกรูปดอกเข็ม
มี 4-5 กลีบ หนา โค้งบานออก (ภาพ: บันนังสตา ยะลา - RP) มี 2 ชนิด T. lucidum (D. Don) K. Schum. ในไทยพบที่เชียงใหม่ เกสรเพศผู้
ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก อับเรณูมีขนไม่เป็นแนว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
ดู่หิน “trachelos” คอ และ “sperma” เมล็ด ตามลักษณะของเมล็ดบางชนิด
Dimorphocalyx muricatus (Hook. f.) Airy Shaw เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Euphorbiaceae Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 111.
ชื่อพ้อง Ostodes muricatus Hook. f.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 4 มม.
ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 15-24 ซม. ขอบใบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ มี
ต่อมระหว่างจัก ก้านใบยาว 2.5-3.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น กลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านดอกยาว
0.8-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาวประมาณ 1 ซม. มีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน
ยาวประมาณ 8 มม. เกสรเพศผู้ 14-22 อัน เรียง 2 วง ก้านชูอับเรณูยาว 2-5 มม.
ช่อดอกเพศเมียสั้น ก้านดอกยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี ยาวประมาณ 3 มม. ติดทน
ไม่ขยายในผล กลีบดอกรูปรี ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่มีตุ่ม ก้านเกสรเพศเมียหนา
ยาวประมาณ 3 มม. ยอดเกสรสั้น ๆ 3 อัน ปลายแยกเป็น 2 แฉก ติดทน ผลแห้งแตก เดื่อดิน: กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก ปากหลอดมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย
กลม เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2.5-2.8 ซม. ผิวเป็นตุ่ม มีประมาณ 3 เมล็ด รูปไข่กลับ (ภาพ: ดอยสุเทพ เชียงใหม่ - RP)
ยาวประมาณ 8 มม. เดื่อเถา
พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และสุมาตรา ในไทยพบทางภาคใต้ตอนล่าง Ficus punctata Thunb.
ที่นราธิวาส ขึ้นตามสันเขาในป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 500 เมตร วงศ์ Moraceae
สกุล Dimorphocalyx Thwaites มีประมาณ 12 ชนิด พบที่อินเดีย ศรีลังกา ไห่หนาน ไทรมีรากเป็นเถาขนาดใหญ่ หูใบยาวได้ถึง 1.5 ซม. ใบเรียงสลับระนาบเดียว
ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิด คือ D. malayanus รูปรีกว้าง รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาวได้ถึง 12 ซม. แผ่นใบด้านล่างมี
Hook. f. หรือเข็มใหญ่ พบเฉพาะทางภาคใต้เช่นกัน ขอบใบเรียบ ผลเรียบ และ ผลึกซิสโทลิท มีต่อมไข 1-2 ต่อม ตามง่ามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 0.5-2 ซม.
กลีบเลี้ยงขยายในผล ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dis” สองเท่า “morphe” รูปร่าง ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ ตามเถาหรือกิ่ง รูปรีกว้าง รูปลูกแพร์
และ “kalyx” กลีบเลี้ยง ตามลักษณะกลีบเลี้ยงที่มีทั้งขยายและไม่ขยายในผล หรือเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลางส่วนมากยาว 4-8 ซม. บางครั้งอาจยาวได้ถึง
เอกสารอ้างอิง 15 ซม. สีส้มหรือสีเหลืองอมชมพู สุกสีด�า ช่องเปิดกว้าง 3-5 มม. ใบประดับคล้าย
Phattarahirankanok, K. and K. Chayamarit. (2005). Euphorbiaceae (Dimorphocalyx). ขนแข็ง 3-5 อัน ก้านสั้น ๆ หรือยาวได้ถึง 2 ซม. ใบประดับที่โคน ยาว 2-5 มม.
In Flora of Thailand Vol. 8(1): 229-231. ติดทน ดอกด้านในสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)
พบที่หมู่เกาะนิโคบาร์ของอินเดีย พม่า กัมพูชา เวียดนาม ไต้หวัน ภูมิภาคมาเลเซีย
และฟิลิปปินส์ ในไทยส่วนมากพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตาม
ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 750 เมตร อยู่ภายใต้สกุลย่อย Synoecia
เดื่อน้ำา
Ficus ischnopoda Miq.
ไม้พุ่ม ทนน�้าท่วม สูง 3-6 ม. หูใบยาว 0.5-1 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหรือ
เรียงตรงข้ามหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง รูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 3-20 ซม.
ดู่หิน: ผลรูปกลม ผิวเป็นตุ่ม กลีบเลี้ยงและเกสรเพศเมียติดทน กลีบเลี้ยงไม่ขยายในผล (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - RP) ขอบใบเรียบ มักม้วนใกล้โคนใบ ก้านใบยาวได้ถึง 2.5 ซม. ดอกอยู่ภายในฐานดอก
ที่ขยายออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ รูปรีกว้างหรือรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม.
เดื่อดิน สุกสีชมพู แดง หรือด�า ก้านยาวได้ถึง 3 ซม. ช่องเปิดกว้าง 2-3 มม. บุ๋มเล็กน้อย
Trachelospermum asiaticum (Siebold & Zucc.) Nakai ด้านในมีขนสั้นประปราย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)
วงศ์ Apocynaceae พบที่อินเดีย ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และ
ชื่อพ้อง Malouetia asiatica Siebold & Zucc. คาบสมุทรมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามโขดหินริมล�าธาร ในป่าเบญจพรรณ
ไม้เถา กิ่งแก่มีช่องอากาศ ใต้ข้อมีต่อมเรียงเป็นแถว น�้ายางสีขาว ใบเรียงตรงข้าม ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร อยู่ภายใต้
รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 3-13 ซม. ก้านใบยาว 0.5-1.4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก สกุลย่อย Ficus
149
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 149 3/1/16 5:31 PM