Page 171 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 171

สกุล Xylia Benth. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Mimosoideae มี 12 ชนิด ส่วนใหญ่พบใน  แดงประดับผา สารานุกรมพืชในประเทศไทย  แดงสะแง
                       แอฟริกา และมาดากัสการ์ ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “xylon”   Rhododendron longiflorum Lindl.
                       เนื้อไม้ ตามลักษณะเนื้อไม้ที่แข็ง
                                                                        วงศ์ Ericaceae
                      เอกสารอ้างอิง                                        ไม้พุ่ม อิงอาศัยหรือขึ้นบนดิน สูงได้ถึง 3 ม. ใบรูปไข่กลับหรือรูปรี ยาว
                       Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae. In Flora of Thailand Vol. 4(2):
                          149-150.                                      3.5-11 ซม. ใบอ่อนมีเกล็ดหนาแน่น ก้านใบมักแบน ยาว 3-15 ซม. ช่อดอก
                                                                        คล้ายช่อซี่ร่ม มี 5-10 ดอก ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ช่อดอกตูม
                                                                        มีเกล็ดหุ้มซ้อนหลายชั้น ก้านดอกย่อย ยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยงปลายแยกแฉกสั้น ๆ
                                                                        ดอกรูปแตร สีแดงอมส้ม ยาว 4-6 ซม. ด้านนอกมีเกล็ดประปราย ด้านในมีขนสั้นนุ่ม
                                                                        เกสรเพศผู้ 10 อัน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย จานฐานดอกมีขนครึ่งบน
                                                                        รังไข่มีขนและเกล็ดหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาว 3.5-5 ซม. ผลรูปกรวยกลับ
                                                                        ยาว 3-4 ซม. มี 5 สัน ผิวมีขนและเกล็ด เมล็ดมีรยางค์เป็นขนที่ปลายทั้ง 2 ด้าน
                                                                        ยาวประมาณ 4 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กุหลาบพันปี, สกุล)
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ตอนล่างที่ยะลา
                      แดง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกคล้ายช่อกระจะสั้น ๆ ก้านช่อโดดยาว ฝักโค้งคล้าย
                    บูมเมอแรง (ภาพดอก: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี, ภาพผล: บ้านตาก ตาก; - SSi)  และนราธิวาส ขึ้นตามที่โล่งบนยอดเขา ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร แยกเป็น var.
                                                                        bancanum Sleumer ดอกขนาดเล็กกว่า แต่ก้านใบยาวกว่า พบที่สุมาตรา
                    แดงน้ำา
                    Pometia pinnata J. R. Forst. & G. Forst.              เอกสารอ้างอิง
                                                                           Sleumer, H. (1966). Ericaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 640-641.
                    วงศ์ Sapindaceae                                       Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 128.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. แยกเพศร่วมต้น ส่วนต่าง ๆ มีขนประปราย ใบประกอบ
                    แบบขนนกปลายคู่ ใบย่อยมี 4-13 คู่ เรียงเกือบตรงข้าม คู่ล่างคล้ายหูใบ ใบย่อย
                    รูปไข่หรือรูปไข่กลับ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 0.6-4 ซม. ขอบใบจักซี่ฟัน แผ่นใบด้านล่าง
                    มีต่อม เส้นแขนงใบเรียงจรดขอบใบ ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่
                    ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 70 ซม. ดอกขนาดเล็กสีครีม ก้านดอกยาวประมาณ 6 มม.
                    กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันบางส่วน ยาวประมาณ 1 มม. กลีบดอกสั้นหรือยาวกว่า
                    กลีบเลี้ยงเล็กน้อย คล้ายรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณู
                    ยาว 2-6 มม. รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ผลผนังชั้นในแข็ง มี 2 พู
                    ส่วนมากเจริญพูเดียว รูปรี ยาว 1.5-5 ซม. ปลายหนา ก้านสั้น เมล็ดรูปไข่เบี้ยว
                    ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีเยื่อหุ้มบาง ๆ มีขั้วเมล็ดกลม ขนาดประมาณ 5 มม.
                       พบที่ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                    ถึงหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา
                    โดยเฉพาะริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1700 เมตร ผลรับประทานได้ น�้าคั้น  แดงประดับผา: ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม ดอกรูปแตร สีแดงอมส้ม เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย
                    จากเปลือกใช้รักษาแผลสด แผลไฟไหม้ แก้ไข้ เป็นไม้เศรษฐกิจที่ส�าคัญโดยเฉพาะ  (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MP)
                    ในนิวกินี และซามัว
                                                                        แดงสะแง, สกุล
                       สกุล Pometia J. R. Forst. & G. Forst. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Sapindoideae เผ่า   Schoutenia Korth.
                       Nepheliea มี 2 ชนิด อีกชนิดคือ P. ridleyi King ex Radlk. พบที่คาบสมุทรมลายูู   วงศ์ Malvaceae
                       สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ส่วนต่าง ๆ เกลี้ยง ขอบใบไม่จัก
                       เส้นแขนงใบไม่จรดขอบใบ ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Pierre   ไม้ต้น หูใบขนาดเล็ก ใบเรียงสลับระนาบเดียว เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ช่อดอก
                       Pomet (1658-1699)                                แบบช่อกระจุก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน ขยายในผล ไม่มีกลีบดอก
                                                                        เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกกัน อับเรณูติดที่ฐาน รังไข่มี 2-5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล
                      เอกสารอ้างอิง                                     2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 3-5 แฉก ผลแห้งไม่แตก เมล็ดไม่มีปีก
                       van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 236-238.
                       Wiart, C. (2006). Medicinal plants of Asia and the Pacific. Boca Raton: CRC/  สกุล Schoutenia เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Tiliaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Dombeyoi-
                          Taylor & Francis.
                       Xia, N. and P.A. Gadek. (2007). Sapindaceae. In Flora of China Vol. 12: 17.  deae มี 8 ชนิด พบในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมี 5 ชนิด อนึ่ง
                                                                           รวงผึ้ง S. glomerata King subsp. peregrina (Craib) Roekm. & Hartono เป็น
                                                                           ไม้ประดับ และขึ้นตามที่ราบลุ่มทางภาคกลาง และกัมพูชา ใบขนาดเล็กกว่า
                                                                           subsp. glomerata ที่พบในคาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ชื่อสกุลตั้งตามนัก
                                                                           สำารวจชาวดัตช์ Willem Corneliszoon Schouten (1567-1625)

                                                                        แดงสะแง
                                                                        Schoutenia ovata Korth.
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปลิ่มแคบ ใบรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาว 4-17 ซม.
                                                                        ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนมน เบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นแขนงใบ
                                                                        ข้างละ 4-6 เส้น เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว 0.4-1 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
                                                                        ช่อดอกออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 2-5 ซม. ตาดอกกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                        ประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงรูปรี มีขนด้านนอก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้เกลี้ยง
                                                                        รังไข่มีขน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. มีขนหนาแน่น กลีบเลี้ยงที่ขยาย
                      แดงน�้า: ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยคู่ล่างคล้ายหูใบ ขอบใบจักซี่ฟัน เส้นแขนงใบเรียงจรดขอบใบ ผลมี 2 พู   บานออก แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. กลีบรูปไข่ ปลายแหลม
                    ส่วนมากเจริญพูเดียว (ภาพ: ธารโต ยะลา - RP)          กว้างประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 1 ซม.

                                                                                                                     151






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   151                                                                 3/1/16   5:23 PM
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176