Page 177 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 177
ตะเกราน�้า
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
5 แฉก รูปใบหอก ยาว 1-2 มม. ติดทน ด้านนอกมีขน ดอกรูปแตร สีม่วง ยาว สกุล Allophylus L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Sapindoideae เผ่า Thoinieae มีชนิดเดียว
2.2-5.5 ซม. ด้านนอกมีขน มี 5 กลีบ รูปรี กว้างประมาณ 1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 2 คู่ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “allos” แตกต่าง และ “phyton” เผ่าพันธุ์ ตามลักษณะ
ยาวไม่เท่ากัน ยาวประมาณ 4 มม. และ 8 มม. บางครั้งมีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ที่ผันแปรของรูปร่าง ขนาดของใบ และช่อดอก
1 อัน อับเรณูมีขน รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 ซม. มีขนสาก เอกสารอ้างอิง
ยอดเกสรจัก 2 พู เป็นแผ่นบาง ๆ ผลแห้งแตก รูปแถบ ยาว 1.8-2.5 ซม. ผนังกั้น van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 176-183.
มีต่อมเป็นตะขอ ก้านยาวได้ถึง 2 ซม. มีหลายเมล็ด ขนาดเล็ก มีขนไวต่อความชื้น
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลาง ขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน ส่วนต่าง ๆ มี
สรรพคุณลดกรดในกระเพาะอาหาร
สกุล Ruellia L. มีประมาณ 250 ชนิด พบในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยมีพืช
พื้นเมืองไม่กี่ชนิด แต่มีหลายชนิดที่นำาเข้ามาปลูกเป็นไม้ประดับ เช่น ต้อยติ่งเทศ
R. simplex C. Wright แดงซีลอน R. brevifolia (Pohl) C. Ezcurra และแดงอเมซอน
R. chartacea (T. Anderson) Wassh. เป็นต้น ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
ชาวฝรั่งเศส Jean Ruel (1474-1537)
เอกสารอ้างอิง
Cramer, L.H. (1998). Acanthaceae. In Flora of Ceylon Vol. 12: 1-140.
Hu, J.Q. and T.F. Daniel. (2011). Acanthaceae. In Flora of China Vol. 19: 435.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
ต่อไส้: ใบประกอบ มีใบย่อย 3-5 ใบ ใบย่อยมีหลายรูปแบบและขนาด ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ
ผลสุกสีส้มหรือสีแดง (ภาพซ้ายบน: หนองคาย, ภาพขวาบน: ตรัง, ภาพซ้ายล่าง: บุรีรัมย์, ภาพขวาล่าง: ชุมพร; - RP)
ตะเกราน้ำา
Eriobotrya bengalensis (Roxb.) Hook. f.
วงศ์ Rosaceae
ชื่อพ้อง Mespilus bengalensis Roxb.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นนุ่มตามช่อดอก ใบประดับ ฐานดอก กลีบเลี้ยงและ
โคนกลีบดอกด้านนอก ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-20 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย
ต้อยติ่ง: ล�าต้นและใบมีขน ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกบางครั้งมีดอกเดียว เกสรเพศผู้และเพศเมียไม่ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก เรียบช่วงโคนใบ เส้นแขนงใบเรียงจรดขอบใบ ก้านใบยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบ
กลีบเลี้ยงติดทน ผลรูปแถบ (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP) ช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 8-12 ซม. ก้านช่อสั้น ใบประดับรูปใบหอก
ก้านดอกยาว 3-5 มม. ฐานดอกยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ
1 มม. ติดทน ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปไข่กลับกว้างเกือบกลม ยาว 4-5 มม. เกสรเพศผู้
20 อัน มี 2-5 คาร์เพล เชื่อมติดกัน อยู่กึ่งใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมีย 2-3 อัน
เชื่อมติดกันที่โคน มีขนสั้นนุ่ม ฐานดอกขยายเป็นผล (pome) รูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม.
มี 1-2 เมล็ด
พบที่ปากีสถาน อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และ
ต้อยติ่งเทศ: ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ เกลี้ยง ดอกออกเป็นช่อกระจุก มีแบบพันธุ์เตี้ย ดอกสีชมพูอมม่วง บอร์เนียว ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึง
(ภาพ: cultivated - RP) ประมาณ 1500 เมตร
ต่อไส้ สกุล Eriobotrya Lindl. มีประมาณ 30 ชนิด ในไทยมี 1-2 ชนิด ซึ่ง E. stipularis
Allophylus cobbe (L.) Raeusch. Craib ถูกระบุว่าอาจเป็นเพียงลักษณะ form ของตะเกราน้ำา และมีที่นำาเข้ามา
วงศ์ Sapindaceae ปลูกเป็นไม้ผล 1 ชนิด คือ E. japonica (Thunb.) Lindl. หรือ loquat ชื่อสกุลมาจาก
ภาษากรีก “erion” ขนคล้ายขนแกะ และ “botrys” เป็นกระจุก ตามลักษณะช่อดอก
ชื่อพ้อง Rhus cobbe L.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 10 ม. แยกเพศต่างต้นหรือร่วมต้น ใบประกอบ มี เอกสารอ้างอิง
ใบย่อย 3-5 ใบ เรียงเวียน ใบย่อยมีหลายรูปแบบและขนาด รูปรีถึงรูปแถบ ยาว Vidal, J.E. (1970). Rosaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 42-44.
2.5-3.5 ซม. ขอบเรียบหรือจักซี่ฟัน แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนด้านล่าง มักมีตุ่มใบเป็นขน
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ หรือยาวได้ถึง 40 ซม. บางครั้งแตกแขนง
ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นกระจุกบนแกนช่อ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่หรือรูปไข่กลับ
ยาว 1-2.5 มม. ดอกไม่สมมาตร สีขาว มี 4 กลีบ รูปเล็บมือถึงรูปใบพาย ยาว
1-2.2 มม. มีก้านกลีบ ที่โคนมีสันนูนเป็นเกล็ดเล็ก ๆ 2 อัน เกสรเพศผู้ 8 อัน
ก้านชูอับเรณูมีขน จานฐานดอกจักเป็นพู รังไข่มีขน ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู
ผลคล้ายผลผนังชั้นในแข็ง รูปกลมหรือรูปไข่ ยาว 4.5-12.5 มม. สุกสีส้มหรือสีแดง
เมล็ดไม่มีเยื่อหุ้ม
พบในอเมริกาใต้ แอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ขึ้น
หลากหลายถิ่นที่อยู่ ความสูงถึงประมาณ 1900 เมตร มีสรรพคุณด้านสมุนไพร
หลายอย่าง มีความผันแปรสูงทั้งรูปร่างและขนาดของใบ และช่อดอก เคยถูกจ�าแนก
ออกเป็นกว่า 200 ชนิด ในหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทยระบุว่ามีชนิดเดียว
และจ�าแนกเป็น 10 กลุ่มย่อย ตะเกราน�้า: ใบเรียงเวียน ขอบจักฟันเลื่อย ช่อผลออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: ขุนวาง เชียงใหม่ - RP)
157
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 157 3/1/16 5:25 PM