Page 160 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 160
แซะ
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว 0.6-1.2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง
มี 5-6 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม มีขนด้านนอก รูปไข่กลับกว้าง ยาว 0.4-1 ซม.
ดอกรูประฆัง มี 5-7 กลีบ สีเขียว ยาว 0.8-1.2 ซม. หลอดกลีบยาว 5-8 มม. มีขน
กระจายด้านนอก เกสรเพศผู้ 5-7 อัน แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมีเท่าจ�านวน
เกสรเพศผู้ เรียงระหว่างเกสรเพศผู้ ยาว 2-4 มม. ส่วนมากมี 5-7 คาร์เพล มีขน
ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรีกว้าง ยาว 3-7 ซม. ปลายมักมีจะงอยสั้น ๆ สุกสีเหลือง
ก้านหนา มี 1-10 เมล็ด สีน�้าตาล เรียว แบน ๆ ยาว 2-4 ซม.
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางแถบประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์
และปานามา ปลูกเป็นไม้ผลในเขตร้อน ใช้ท�าคัสตาร์ด แยม พาย ผสมเครื่องดื่ม
หรือเป็นของหวาน ค�าระบุชนิดมาจากชื่อเมือง Campeche ในประเทศเม็กซิโก
ซึ่งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นกัมพูชา บางครั้งจึงเรียกชื่อไทยเป็นละมุดเขมร
เอกสารอ้างอิง
Wunderlin, R.P. and R.D. Whetstone. (2009). Sapotaceae (Pouteria). In Flora of
แซะ: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง ก้านช่อดอกหนา ดอกสีม่วงเข้ม ผลเป็นฝักอวบหนา แบนเล็กน้อย
North America Vol. 8: 244-245. http://www.efloras.org (ภาพดอก: บันนังสตา ยะลา - RP; ภาพผล: มุกดาหาร - PK)
ดรุณี
Sonerila moluccana Roxb.
วงศ์ Melastomataceae
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 20 ซม. มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่ง ก้านใบ ขอบใบและ
แผ่นใบด้านล่าง และก้านช่อดอก มีขนคายและตุ่มกระจายบนฐานดอก และผล
ใบเรียงหนาแน่นที่ยอด ใบตรงข้ามขนาดไม่เท่ากัน ใบรูปไข่หรือรูปขอบขนาน
ยาว 6-14 ซม. โคนรูปหัวใจเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อย มีขนครุย เส้นโคนใบข้างละ
2-3 เส้น ก้านใบยาว 1.5-4 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 6 ซม.
ก้านดอกยาว 1-4 มม. ฐานดอกยาว 3-4 มม. ดอกสีขาวหรือชมพู มี 3 กลีบ รูปไข่
ยาว 6-7 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน อับเรณูสีเหลือง ยาวประมาณ 3 มม. ผลรูปไข่
หรือรูประฆัง ยาว 4-6 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สาวสนม, สกุล)
เซียนท้อ: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ดอกรูประฆัง มี 5-7 กลีบ สีเขียว ผลสด สุกสีเหลือง ก้านผลหนา พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา และบอร์เนียว ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้
(ภาพ: cultivated - RP)
ที่นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และนราธิวาส ขึ้นใต้ร่มเงาริมล�าธารในป่าดิบชื้น
แซะ ความสูง 50-1200 เมตร
Callerya atropurpurea (Wall.) Schot เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Fabaceae Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
ชื่อพ้อง Millettia atropurpurea (Wall.) Benth. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 490-492.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน แกนใบประกอบยาว
10-22 ซม. โคนก้านพอง ใบย่อยมี 3-5 คู่ รูปรีหรือรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย เส้นกลางใบ
นูนทั้งสองด้าน ก้านใบย่อยยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่
ปลายกิ่ง ยาว 10-20 ซม. ก้านช่อหนา ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก
ใบประดับย่อยติดทน กลีบเลี้ยงรูประฆัง เบี้ยว ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยกเป็น
แฉกขนาดเล็กไม่เท่ากัน มีขนเป็นมันวาวทั้งสองด้าน ดอกสีชมพูถึงม่วงเข้ม ยาว
ประมาณ 2 ซม. กลีบกลางรูปรีกว้าง ยาว 1-1.5 ซม. โค้งออก มีแถบสีเหลืองตรงกลาง
ด้านใน กลีบคู่ล่างยาวเท่า ๆ กลีบคู่ข้าง ปลายกลีบเชื่อมติดกัน รูปไข่กลับ ยาว
1-1.4 ซม. เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน
ยาวไม่เท่ากัน ยาว 0.7-1.2 ซม. ก้านเกสรเพศเมียโค้ง ผลรูปรีหรือรูปไข่กลับ แบน ดรุณี: ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว ดอกเรียงสองแถว มีทั้งดอกสีขาวและสีชมพู มีขนยาวหนาแน่น (ภาพซ้าย:
ยาว 7.5-15 ซม. ผนังผลหนา มี 1-2 เมล็ด แบน ๆ ยาว 3-4 ซม. เขา 1490 ยะลา, ภาพขวา: บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 7 ยะลา; - RP)
พบในพม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบทุกภาค ดอกกระดิ่ง, สกุล
ขึ้นตามป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร ราก Didymocarpus Wall.
ใช้เบื่อปลา วงศ์ Gesneriaceae
สกุล Callerya Endl. ในปัจจุบันได้รวมเอาสกุล Adinobotrys, Padbruggea, ไม้ล้มลุก ขึ้นบนพื้นดิน หิน หรืออิงอาศัย มักอวบน�้า ไม่มีหูใบ ใบส่วนมาก
Whitfordiodendron และบาง section ของสกุล Millettia เข้าไว้ด้วย ตามลักษณะ เรียงตรงข้ามหรือเรียงสลับระนาบเดียว ใบตรงข้ามมักมีขนาดไม่เท่ากัน ขอบใบ
ช่อดอกที่เป็นแบบช่อแยกแขนงก้านช่อหนา ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน 2 กลุ่ม มี จักฟันเลื่อยหรือจักซี่ฟัน ใบส่วนมากมีขนหลายเซลล์ประปรายทั้งสองด้าน ช่อดอก
ใบประดับชัดเจน กลีบเลี้ยงสมมาตรด้านข้าง มีประมาณ 19 ชนิด ส่วนมากเป็น แบบช่อกระจุก ใบประดับออกเป็นคู่ ร่วงเร็วหรือติดทน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันหรือ
ไม้เถา พบในประเทศแถบเทือกเขาหิมาลัย จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย แยกจรดโคน มี 5 กลีบ ดอกรูปแตรหรือรูปดอกเข็ม กลีบรูปปากเปิด กลีบบน 2 กลีบ
ถึงออสเตรเลีย ในไทยมีประมาณ 5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kallaion” กลีบล่าง 3 กลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 2 อัน ติดด้านล่าง อับเรณูเชื่อมติดกัน
แผงคอไก่ ตามลักษณะช่อดอก แตกตามยาว เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 2-3 อัน ติดด้านบนระหว่างกลีบดอก
จานฐานดอกจักเป็นพู รังไข่รูปทรงกระบอก มีก้าน มี 2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก
เอกสารอ้างอิง
Schot, A.M. (1994). A revision of Callerya Endl. (including Padbruggea and พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรเป็นตุ่มหรือเว้า
Whitfordiodendron) (Papilionaceae: Millettieae). Blumea 39: 1-40. ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก เมล็ดจ�านวนมาก ผิวเป็นร่างแห
140
59-02-089_113-212_Ency new5-3 i_Coated.indd 140 3/5/16 4:54 PM