Page 130 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 130

โงงงัง
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พบที่จีนตอนใต้ พม่า กัมพูชา ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม  จมูกปลาหลด
                ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง โดยเฉพาะบนเขาหินปูน ความสูงถึง  Oxystelma esculentum (L. f.) Smith
                ประมาณ 1000 เมตร
                                                                     วงศ์ Apocynaceae
                  เอกสารอ้างอิง                                       ชื่อพ้อง Periploca esculenta L.f., Oxystelma secamone (L.) Karst.,
                   Phengklai, C. (2005). Bombacaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1): 10-15.  Sarcostemma secamone (L.) Bennet
                   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Bombacaceae. In Flora of China
                      Vol. 12: 300-301.                                ไม้เถาล้มลุก น�้ายางสีขาว ใบเรียงตรงข้าม รูปแถบ ยาว 5-12 ซม. ปลายแหลม
                                                                     โคนกลม มีเส้นขอบใน ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อกระจะหรือซี่ร่ม
                                                                     ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. มี 2-6 ดอกในแต่ละช่อ กลีบเลี้ยง
                                                                     5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 3-4 มม. มีต่อมที่โคนด้านใน ดอกสีขาวอมชมพู มีเส้น
                                                                     สีม่วงเข้มด้านใน กลีบเรียงทับด้านขวาในตาดอก ดอกบานรูปถ้วยกว้าง มี 5 กลีบ
                                                                     รูปสามเหลี่ยมกว้าง ยาว 1-1.5 ซม. ขอบมีขนครุย กะบังวงนอกแนบติดโคนกลีบดอก
                                                                     มีขนสั้นนุ่ม กะบังวงในแนบติดเส้าเกสร เกลี้ยง ปลายเรียวจรดกัน ยาวได้ถึง 1 ซม.
                                                                     เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสรสั้น ๆ มี 2 คาร์เพล แยกกัน ผลแตก
                                                                     แนวเดียว ส่วนมากเจริญเพียงผลเดียว รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5 ซม. เมล็ด
                                                                     จ�านวนมาก ขนาดเล็ก กระจุกขนยาว 1.5-2 ซม.
                                                                       พบในแอฟริกา อินเดีย ปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาค
                                                                     อินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นเป็นวัชพืชตามที่โล่ง
                                                                     ยางมีฤทธิ์เป็นยาปฏิชีวนะ น�้าสกัดจากส่วนต่าง ๆ แก้เจ็บคอ ผลรับประทานได้

                  งิ้ว: ดอกสีแดง กลีบเลี้ยงรูปถ้วย เกสรเพศผู้เรียง 2 วง วงนอก 5 มัด วงใน 5 มัด ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 5 แฉก   สกุล Oxystelma R. Br. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Asclepiadoideae มี 2 ชนิด พบใน
                (ภาพ: เพชรบูรณ์ - PK)                                  แอฟริกาและเอเชีย แยกเป็น var. alpini N. E. Br. พบในอียิปต์ ชื่อสกุลมาจาก
                                                                       ภาษากรีก “oxys” แหลม และ “stelmatos” เชื่อมติดกัน ตามลักษณะของกะบัง

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Li, B., M.G. Gilbert and W.D, Stevens. (1995). Asclepiadaceae. In Flora of
                                                                          China Vol. 16: 202.




                  งิ้วป่า: ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ดอกสีครีมอมเขียว กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ มีขนสั้นนุ่ม
                (ภาพซ้าย: ไทยประจัน ราชบุรี - SSi; ภาพขวา: พระบาท สระบุรี - RP)
                โงงงัง
                Cratoxylum arborescens (Vahl) Blume
                วงศ์ Hypericaceae
                  ชื่อพ้อง Hypericum arborescens Vahl
                                                                      จมูกปลาหลด: กลีบดอกรูปถ้วยกว้าง มีปื้นสีม่วงเข้มหนาแน่นด้านใน ผลรูปขอบขนาปลายเรียวแคบ (ภาพดอก:
                   ไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปขอบขนานหรือ  ปทุมธานี - RP; ภาพผล: สามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ - MT)
                รูปใบหอกกลับ ยาว 8-16 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบ
                ยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ดอกจ�านวนมาก   จวงหอม
                ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรี เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 4-6 มม.   Neocinnamomum caudatum (Nees) Merr.
                ดอกส่วนมากสีแดงเข้ม มี 5 กลีบ รูปรี ยาว 4-7 มม. มีต่อมน�้าต้อยขนาดเล็ก  วงศ์ Lauraceae
                กระจาย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก มี 5 มัด ติดกัน 2 คู่ แยกเป็นมัดเดี่ยว 1 มัด   ชื่อพ้อง Cinnamomum caudatum Nees
                ยาว 4-5 ซม. ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 3 แฉก ยาวได้ถึง 3 มม. ผลแห้งแตกเป็น
                3 ซีก รูปทรงกระบอก ยาว 7-9 มม. เมล็ดจ�านวนมาก เรียวแคบ ยาวประมาณ 5 มม.   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกหนาแตกเป็นสะเก็ด มีขนละเอียดตามกิ่งอ่อน
                (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ติ้ว, สกุล)                    เกล็ดตา ช่อดอก ใบประดับ กลีบรวม ตายอดขนาดเล็ก เกล็ดหุ้มตาหนา ใบเรียงเวียน
                                                                     รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-12 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มกว้าง
                   พบที่พม่าตอนล่าง คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่าง  แผ่นใบด้านล่างคล้ายมีนวล ก้านใบยาว 0.8-1.2 ซม. เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น
                ของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ หรือป่าพรุ ยางใช้ทา  มีเส้นตามขวางจ�านวนมาก ช่อดอกแบบช่อกระจุกกลม ออกตามซอกใบ หรือ
                แผลพุพองที่เกิดจากอีสุกอีใส                          เรียงบนแกนช่อแยกแขนงสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อกระจุกก้านช่อ
                  เอกสารอ้างอิง                                      สั้นมาก มี 5-6 ดอก ใบประดับรูปเคียวขนาดเล็ก ก้านดอกยาวได้ถึง 5 มม. ขยาย
                   Robson, N.K. (1974). Hypericaceae. In Flora Malesiana Vol. 8: 11.  ในผล เรียว ปลายหนา ยาวได้ถึง 1 ซม. ดอกสีเขียวอมเหลืองขนาดเล็ก กลีบรวม
                                                                     6 กลีบ เรียง 2 วง รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1.2 มม. หลอดกลีบสั้น ขยายหนา
                                                                     ในผล กว้าง 6-8 มม. เกสรเพศผู้ 9 อัน เรียง 3 วง ยาวประมาณ 1 มม. ก้านชูอับเรณู
                                                                     มีขนยาว วงที่สามโคนมีต่อม 2 ต่อม อับเรณูมี 2 คู่ แต่ละวงเรียงหันเข้าและหันออก
                                                                     ต่างกัน มีฝาเปิดด้านบน เกสรเพศผู้วงในสุดเป็นหมัน 3 อัน รังไข่มีช่องเดียว ออวุลมี
                                                                     เม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่ารังไข่ ยอดเกสรรูปจาน ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีแคบ
                                                                     ยาว 1.5-2 ซม. แก่สีแดงเปลี่ยนเป็นสีด�า
                                                                       พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีน พม่า และเวียดนามตอนบน ในไทยพบทาง
                  โงงงัง: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ช่อดอกแบบแยกแขนงออกตามปลายกิ่ง ดอกจ�านวนมาก สีแดงเข้ม เกสรเพศผู้  ภาคเหนือที่เชียงใหม่ ล�าปาง ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 1000-2550 เมตร
                จ�านวนมาก (ภาพ: โต๊ะแดง นราธิวาส - MT)

                110






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   110                                                                 3/1/16   5:18 PM
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135