Page 128 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 128

ไคร้หางนาค


                ไคร้หางนาค          สารานุกรมพืชในประเทศไทย           เอกสารอ้างอิง
                                                                       Craven, L.A. (2005), Malesian and Australian Tournefortia transferred to
                Breynia heteroblasta (Airy Shaw) Welzen & Pruesapan       Heliotropium and notes on delimitation of Boraginaceae. Blumea 50(2): 379.
                วงศ์ Phyllanthaceae                                    Johnston, I.M. (1935). Studies in the Boraginaceae XI. Journal Arnold Arboretum
                                                                          16: 164-168.
                  ชื่อพ้อง Sauropus heteroblastus Airy Shaw            Zhu, G., H. Riedl and R.V. Kamelin. (1995). Boraginaceae (Tournefortia argentea).
                   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. แตกกิ่งสั้น ๆ มีริ้วคล้ายปีก ใบรูปไข่กลับ ยาว 0.5-3 ซม.   In Flora of China Vol. 16: 341-342.
                ปลายกลม เว้าตื้น ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกตามซอกใบ ดอกเพศผู้อยู่ติด
                ดอกเพศเมีย ดอกเพศผู้สีน�้าตาลแดง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. ก้านดอก
                ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ปลายเว้าตื้น เส้าเกสรสั้น ดอกเพศเมียสีเขียว
                มักมีปื้นแดงตามขอบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-6 มม. ก้านดอกยาวประมาณ 1.5 มม.
                กลีบเลี้ยงแยกเกือบจรดโคน ปลายกลีบแหลมสั้น ๆ ขยายในผล รูปไข่กว้าง ยาว
                ประมาณ 2.5 มม. รังไข่รูประฆังกว้าง ยอดเกสรแยกเป็น 3 แฉก ตามแนวระนาบ
                ม้วนงอเล็กน้อย ติดทน ผลแห้งแตก รูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
                ครามน�้า, สกุล)
                   พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                เป็นพืชทนน�้า ขึ้นตามที่ราบลุ่มที่น�้าท่วมถึง ความสูง 100-200 เมตร

                  เอกสารอ้างอิง
                   van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae. In Flora of Thailand Vol. 8(2): 537.
                                                                      งวงช้างทะเล: ใบเรียงเวียนชิดกันที่ปลายกิ่ง ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่น ปลายม้วน (ภาพ: เกาะลันตา กระบี่ - TP)










                                                                      หญ้างวงช้างน้อย: โคนสอบเรียวจรดก้านใบเป็นครีบคล้ายปีก ช่อดอกปลายม้วน (ภาพ: พระนครศรีอยุธยา - NS)
                                                                     งวงชุ่ม
                                                                     Combretum pilosum Roxb. ex G. Don
                                                                     วงศ์ Combretaceae
                  ไคร้หางนาค: ไม้พุ่มแตกกิ่งสั้นจ�านวนมาก ปลายใบเว้าตื้น ดอกเพศผู้สีน�้าตาลแดง ดอกเพศเมียสีเขียว กลีบเลี้ยง  ชื่อพ้อง Combretum insigne Van Heurck & Müll. Arg.
                แยกเกือบจรดโคน ปลายกลีบแหลมสั้น ๆ ขยายในผล (ภาพ: ทุ่งกุลาร้องไห้ ยโสธร - PK)  ไม้เถาเนื้อแข็ง มีขนหรือขนต่อมสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบ
                งวงช้างทะเล                                          ช่อดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยง รังไข่ และผลอ่อน ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่
                Heliotropium foertherianum Diane & Hilger            ยาว 8-15.5 ซม. โคนเบี้ยวเล็กน้อย ก้านใบยาว 2-5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                                                                     หรือแยกแขนงสั้น ๆ ยาว 3-12.5 ซม. ออกชิดกันช่วงปลายกิ่ง ใบประดับรูปใบหอก
                วงศ์ Heliotropiaceae                                 แกมรูปไข่ ยาว 3.5-6.5 มม. ติดทน ดอกเรียงหนาแน่น หลอดกลีบเลี้ยงรูปกรวยแคบ
                  ชื่อพ้อง Tournefortia argentea L. f., Messerschmidia argentea (L. f.) Johnston,   ยาว 7-8 มม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกสีขาวหรืออมม่วง
                    Argusia argentea (L. f.) Heine                   มี 5 กลีบ รูปไข่แคบ ยาว 3.5-5.5 มม. ปลายกลีบมน เกสรเพศผู้ยาว 1-1.5 ซม.
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ล�าต้นหนา มีขนสั้นนุ่มตามแผ่นใบทั้งสองด้าน   ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 ซม. ผลแห้งรูปรีเกือบกลม ยาว 2.2-2.8 ซม. มี 5 ปีก
                ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียนชิดกันที่ปลายกิ่ง รูปไข่หรือรูปใบหอกกลับ   กว้าง 7.5-9.5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สะแกนา, สกุล)
                ยาว 8-20 ซม. ปลายเป็นติ่งหรือมน โคนสอบเรียวจรดก้านใบเป็นครีบคล้ายปีก   พบที่อินเดีย พม่า จีน และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น
                ยาวได้ถึง 2.5 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่นออกที่ปลายกิ่ง ช่อตอนปลายม้วน   ภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 100-800 เมตร
                ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 1.5-2 มม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอก  ใบใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ ราก ใช้ต้มแก้ไข้บิด
                ยาว 2.5-3 ซม. มี 5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดที่ปาก
                หลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียไม่ชัดเจน ยอดเกสร  เอกสารอ้างอิง
                แยก 2 แฉก ฐานเป็นวงแหวน ผลสด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. แตกเป็น   Nanakorn, W. (1986). The genus Combretum (Combretaceae) in Thailand. Thai
                                                                          Forest Bulletin (Botany) 16: 161-163.
                2 ส่วน ปลายทั้ง 2 ด้าน มีเปลือกหุ้มเป็นคอร์ก แต่ละซีกมี 2 ไพรีน กว้างประมาณ
                1 มม. ยาวประมาณ 2 มม.
                   พบตามหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก อินเดีย ศรีลังกา
                ไห่หนาน ไต้หวัน เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลียตอนบน ในไทยพบ
                ตามเกาะฝั่งทะเลอันดามันที่พังงา กระบี่ ตามหาดทรายที่ไม่ถูกรบกวน

                   สกุล Heliotropium L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Boraginaceae ซึ่งมีลักษณะทาง
                   สัณฐานคล้าย ๆ กัน มีประมาณ 390 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทย
                   อาจมี 4-5 ชนิด รวมถึง หญ้างวงช้างน้อย H. indicum L. ที่ขึ้นเป็นวัชพืช ชื่อ
                   สกุลมาจากภาษากรีก “helios” ดวงอาทิตย์ และ “trope” หันเข้าหา หมายถึงพืช
                   ที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์                             งวงชุ่ม: มีขนหรือขนต่อมสีน�้าตาลแดงกระจาย ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือแยกแขนงสั้น ๆ ดอกเรียงหนาแน่น
                                                                     ดอกสีขาวหรืออมม่วง เกสรเพศผู้ 10 อัน ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - NS)

                108






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   108                                                                 3/1/16   5:17 PM
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133