Page 133 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 133

จันด�า: ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกหรือแยกแขนงสั้น ๆ ดอกเพศเมียออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ผลรูปรี กลีบเลี้ยง  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  จันทน์ชะมด
                    แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง พับงอกลับ (ภาพ: ชุมพร - AS)
                    จันทน์กะพ้อ
                    Vatica diospyroides Symington
                    วงศ์ Dipterocarpaceae
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มสีน�้าตาลตามกิ่ง ก้านใบ ช่อดอก   จันทน์กะพ้อแดง: มีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่นทั่วไป หูใบรูปใบหอก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงสั้น ๆ ดอกสีชมพู
                    ใบประดับ ก้านดอก กลีบเลี้ยง กลีบดอกด้านนอก และผล หูใบรูปแถบ ยาว   ผลมีปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก (ภาพ: สุคิริน นราธิวาส - MP)
                    5-8 มม. ใบรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 10-28 ซม. เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได
                    ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. งอเป็นข้อ ช่อดอกยาว 4-5 ซม. ช่อแยกแขนงมี 1-5 ดอก   จันทน์ชะมด
                    ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 2 มม. ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว   Mansonia gagei J. R. Drumm. ex Prain
                    4-5 มม. ขยายในผล ดอกสีครีม กลีบรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 1.2-1.7 ซม.   วงศ์ Malvaceae
                    รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปรี ยาว 1.5-3 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม ผิวมีนวลแป้ง
                    สีน�้าตาล แห้งแตกเป็น 3 ส่วน กลีบเลี้ยงรูปไข่ ปลายเรียวแหลม ยาว 1-1.5 ซม.   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปใบหอก ยาว 5-7 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปไข่
                    เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พันจ�า, สกุล)  หรือรูปขอบขนาน ยาว 8-14 ซม. โคนเว้าตื้น เบี้ยวเล็กน้อย ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย
                                                                        เล็กน้อย เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแยกแขนง
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา และตรัง ขึ้นตาม  ยาวได้ถึง 15 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงแยกด้านเดียว รูปขอบขนาน
                    ป่าดิบชื้น พื้นที่น�้าท่วมถึง เป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอมแรง  ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปใบหอกกลับ ยาวประมาณ 1 ซม.
                                                                        เกสรเพศผู้ 10 อัน เชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสร ล้อมรอบรังไข่ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                    จันทน์กะพ้อแดง                                      5 อัน ติดระหว่างเกสรเพศผู้และรังไข่ คาร์เพล 5 อัน แยกกัน มีขน ก้านเกสรเพศเมีย
                    Vatica maingayi Dyer                                โค้งออก ยอดเกสรเรียวเป็นตุ่ม ผลมีปีกเดียว แห้งไม่แตก ทรงรี ยาว 1-1.5 ซม.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. มีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตาม  ปีกยาว 2.5-3 ซม. ปลายปีกมน
                    กิ่งอ่อน ปลายก้านใบ ช่อดอก ใบประดับ ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก   พบที่อินเดียและพม่า ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลางที่สระบุรี
                    และผล หูใบรูปใบหอก ยาว 0.5-1.5 ซม. ใบรูปใบหอก ยาว 6-12 ซม. เส้นใบย่อย  ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช ขึ้นตามป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง
                    แบบร่างแห ก้านใบยาว 1.5-2 ซม. ช่อดอกออกสั้น ๆ ยาว 1-3 ซม. แยกแขนง 2-4 ช่อ   ที่เป็นหินปูน ความสูง 100-650 เมตร แก่นมีน�้ามันหอมระเหย ใช้สร้างพระโกศ
                    แต่ละช่อมี 2-4 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาว 1-2 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม.   ใช้ในงานพระราชพิธี ท�าเครื่องใช้ ดอกไม้จันทน์ ธูป และเครื่องหอม
                    กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 มม. ขยายเป็นปีกในผล ดอกสีชมพู กลีบรูปไข่
                    หรือแกมรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม. รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปรีกว้าง   สกุล Mansonia J. R. Drumm. ex Prain เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae
                    ยาว 0.8-1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ปีกยาว 2 ปีก ยาว 5-7.5 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว   ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Helicteroideae มีประมาณ 5 ชนิด พบในแอฟริกาและเอเชีย
                    2.5-3.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พันจ�า, สกุล)        ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตาม F. B. Manson นักอนุรักษ์ของการป่าไม้อินเดีย
                                                                           ในช่วงศตวรรษที่ 20
                       พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส
                    ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 200-500 เมตร                เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 590.
                      เอกสารอ้างอิง
                       Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana 9(2): 369.
                       Symington, C.F. (1938). Notes on Malayan Dipterocarpaceae IV. Gardens’
                          Bulletin Singapore 9: 347.














                      จันทน์กะพ้อ: เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบมักงอเป็นข้อ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกสีครีม ผลผิวมีนวลแป้ง
                    สีน�้าตาล กลีบเลี้ยงขยายในผล (ภาพ: cultivated; ภาพดอก - PPr, ภาพผล - MP)  จันทน์ชะมด: โคนใบเว้าตื้น เบี้ยวเล็กน้อย เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ผลมีปีกเดียว (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - SSi)

                                                                                                                     113






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   113                                                                 3/1/16   5:22 PM
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138