Page 129 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 129
ง้าย เอกสารอ้างอิง สารานุกรมพืชในประเทศไทย งิ้วป่า
Rhodamnia kerrii J. Parn. & NicLugh. Chaowasku, T. and R.W.J.M. van der Hama. (2013). Integrative systematics
supports the establishment of Winitia, a new genus of Annonaceae
วงศ์ Myrtaceae (Malmeoideae, Miliuseae) allied to Stelechocarpus and Sageraea. Systematics
and Biodiversity 11(2): 195-207.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. เปลือกลอกเป็นแผ่น มีขนสั้นนุ่มตามแผ่นใบ ก้านใบ Sinclair, J. (1955). A revision of the Malayan Annonaceae. Gardens’ Bulletin
ก้านดอก ฐานดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่ ยาว Singapore 14: 182-184.
2-3 ซม. แผ่นใบหนา เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ดอกออก
เดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ก้านดอกเทียมยาวประมาณ
2 มม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปกรวย ยาวประมาณ 5 มม. ติดทน
มี 4 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 2 มม. ดอกสีครีม มี 4 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 6 มม.
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 มม. โคนก้านสีชมพู แกนอับเรณู
ปลายแหลมสั้น รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลสด มี
1-2 เมล็ด รูปกลม สุกสีด�า มีขนละเอียด เมล็ดกลมหรือครึ่งวงกลม ยาวประมาณ
4 มม. ด้านหนึ่งเป็นเหลี่ยม
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตามทุ่งหญ้าที่โล่ง
พื้นเป็นหินทราย ง�าเงาะ: ดอกออกเป็นกระจุกตามล�าต้น กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง แผ่นกลีบหนา ผลมีขนละเอียด
สีน�้าตาลด�า (ภาพ: บันนังสตา ยะลา - MP)
สกุล Rhodamnia Jack มี 24 ชนิด พบในเอเชียโดยเฉพาะภูมิภาคมาเลเซีย และ งิ้ว, สกุล
ออสเตรเลีย ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “rhodon” กุหลาบ และ
“amnion” ถุงน้ำาคร่ำาหรือรก ตามลักษณะผลที่ยังไม่แก่มีสีแดงคล้ายกุหลาบ Bombax L.
วงศ์ Malvaceae
เอกสารอ้างอิง
Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol. ไม้ต้น ผลัดใบ ล�าต้นส่วนมากมีหนาม หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบ
7(4): 807-809. รูปนิ้วมือมี 5-9 ใบ เรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกตามซอกใบหรือ
ปลายกิ่ง ดอกออกก่อนผลิใบใหม่ กลีบเลี้ยงหนา เชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 3-5 กลีบ
กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมากเชื่อมติดกันเป็นมัด ๆ 5-10 มัด ติดระหว่าง
กลีบดอก รังไข่มี 5 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยาวกว่า
เกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรแยกเป็น 5 แฉก ผลแห้งแตก เรียบหรือมี 5 สัน
แตกเป็น 5 ซีก เมล็ดจ�านวนมาก มีปุยนุ่นหุ้ม
สกุล Bombax L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Bombacaceae ปัจจุบันอยู่ภายใต้วงศ์ย่อย
Bombacoideae มีประมาณ 50 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาและแอฟริกา
เขตร้อน ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “bombyx” เส้นไหม ตาม
ลักษณะปุยนุ่นคล้ายเส้นไหมที่หุ้มเมล็ด
งิ้ว
Bombax ceiba L.
ง้าย: มีขนสั้นนุ่มกระจาย ใบเรียงตรงข้าม แผ่นใบหนา มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ดอกส่วนมาก ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปฝ่ามือ มีใบย่อย 5-7 ใบ ก้านใบยาว 10-20 ซม.
ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ (ภาพ: เลย - TP)
รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 8-15 ซม. ก้านใบย่อยสั้น หรือ
งำาเงาะ ยาวได้ถึง 4 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 2-3 ซม. ด้านนอก
Winitia cauliflora (Scheff.) Chaowasku มีขนคล้ายไหม กลีบ 3-5 กลีบ รูปรีกว้าง ยาวประมาณ 1.5 ซม. ดอกสีแดงอมส้ม
หรือเหลือง กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 5-10 ซม. แผ่นกลีบค่อนข้างหนา
วงศ์ Annonaceae มีขนรูปดาวละเอียดทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ยาว 3.5-7 ซม. เรียง 2 วง วงนอก 5 มัด
ชื่อพ้อง Sageraea cauliflora Scheff., Stelechocarpus cauliflorus (Scheff.) R. E. Fr. วงใน 5 มัด ก้านเกสรเพศเมียยาว 8-8.5 ซม. ผลรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 8-15 ซม.
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 5-12 ม. แยกเพศร่วมต้น ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน มีขนรูปดาวกระจาย
หรือรูปใบหอก ยาว 12-25 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีเกล็ดเป็นตุ่มกระจาย ก้านใบยาว อาจมีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อนหรือในเอเชียจนถึงออสเตรเลียตอนบน ใน
0.5-1 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกตามล�าต้น ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียคล้ายกัน ไทยพบมากตามท้องไร่ท้องนาทุกภาค หรือปลูกเป็นไม้เศรษฐกิจ ทุกส่วนมีสรรพคุณ
กลีบเลี้ยง 3 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 5 มม. กว้างประมาณ ด้านสมุนไพรหลายอย่าง
8 มม. ดอกสีเหลืองอ่อนหรือครีม มี 6 กลีบ เรียง 2 วง แผ่นกลีบหนา กลีบวงนอก
รูปไข่กลับ ยาว 1-1.3 ซม. กลีบในรูปคุ่ม ขนาดเล็กกว่ากลีบนอก ฐานดอกรูปครึ่งวงกลม งิ้วป่า
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงเป็นชั้น ๆ ยาวประมาณ 2.5 มม. คาร์เพลจ�านวนมาก
ผลกลุ่ม ทรงรีเกือบกลม ยาว 4-5 ซม. มีขนละเอียด สีน�้าตาลด�า มี 4-6 เมล็ด เรียง Bombax anceps Pierre
2 แถว ยาวประมาณ 3 ซม. ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง กลีบเลี้ยง และกลีบดอก ใบรูปฝ่ามือ
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา นราธิวาส มีใบย่อย 5-7 ใบ ก้านใบยาว 10-30 ซม. มีริ้วเป็นสัน ใบรูปรี รูปไข่กลับ หรือรูป
ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 200-700 เมตร ขอบขนาน ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 8-28 ซม. แผ่นใบด้านล่างเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม
ก้านใบย่อยยาว 1-1.5 ซม. ก้านดอกยาว 1-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ ยาว
สกุล Winitia Chaowasku เป็นสกุลที่แยกมาจากสกุล Stelechocarpus มี 2 ชนิด 3-5 ซม. ปลายจักตื้น ๆ 3-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ดอกสีขาวครีมอมเขียว หรือ
อีกชนิด คือ W. expansa Chaowasku เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะ ชมพูอ่อน รูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-7 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 6-7 ซม.
ที่เขาปู่เขาย่า จังหวัดพัทลุง ชื่อสกุลตั้งตามชื่อพระยาวินิจวนันดร (โต โกเมศ) มี 5 มัด เชื่อมติดกันประมาณ 1.5 ซม. ผลรูปขอบขนาน โค้งเล็กน้อย ยาว 10-18 ซม.
บิดาแห่งพฤกษศาสตร์ของไทย มีสันตื้น ๆ 5 สัน
109
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 109 3/1/16 5:17 PM