Page 508 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 508

ไอ้แกรก


                ไอ้แกรก             สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Gynotroches axillaris Blume
                วงศ์ Rhizophoraceae
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. กิ่งเรียงตรงข้าม หูใบติดระหว่างก้านใบ รูปใบหอก ยาว
                ประมาณ 1.5 ซม. ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปไข่ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก
                ยาว 4.5-20 ซม. ปลายและโคนแหลม แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ดอกออก
                เป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับเรียงชิดกันแน่นเป็นกระจุกกลม กลีบเลี้ยง
                และกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงแฉกลึก กลีบรูปไข่ ยาว 1.5-2.5 มม.
                ดอกสีเขียวอมขาว รูปไข่กลับ ยาว 2-2.5 มม. ปลายมีรยางค์แฉกลึกคล้ายเส้นด้าย   ฮอมดง: ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นแยกแขนง กลีบดอก เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเพศเมีย และผลแก่สีน�้าเงิน กลีบดอก
                เกสรเพศผู้จ�านวนเป็น 2 เท่าของกลีบเลี้ยง ก้านชูอับเรณูโค้ง ยาว 1-2 มม. จานฐานดอก  พับงอกลับ (ภาพซ้าย: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP; ภาพขวา: เขานัน นครศรีธรรมราช - MT)
                รูปถ้วย จักตื้น ๆ รังไข่มี 4-6 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 3-8 เม็ด ยอดเกสรเพศเมียจัก
                4-8 พู รูปคล้ายกงล้อ ผลสดมีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม.   ฮ่อสะพายควาย
                ผลแก่สีแดง                                           Thailentadopsis tenuis (Craib) Kosterm.
                   พบที่พม่า ภูมิภาคมาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทาง  วงศ์ Fabaceae
                ภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช ตรัง นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 100-200 เมตร   ชื่อพ้อง Pithecellobium tenue Craib
                รากและใบมีสรรพคุณช่วยเจริญอาหาร                        ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 5 ม. ล�าต้นมีหนาม กิ่งเป็นเหลี่ยม หูใบเปลี่ยนรูปเป็น
                                                                     หนามแข็ง ยาว 0.5-2 ซม. ใบประกอบ 2 ชั้น แกนกลางใบประกอบยาว 1-3 ซม.
                   สกุล Gynotroches Blume มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “gyne” เพศเมีย   มีครีบเป็นปีก กว้างประมาณ 5 มม. ใบประกอบย่อยมีคู่เดียว แกนกลางยาวประมาณ
                   และ “trochos” เป็นวง ตามรูปร่างของยอดเกสรเพศเมีย  2 ซม. ก้านสั้น มีครีบเป็นปีก มีต่อมระหว่างก้านใบและก้านใบย่อย หูใบย่อย

                  เอกสารอ้างอิง                                      เป็นหนาม ใบย่อยมี 1-3 คู่ ไร้ก้าน รูปรีหรือรูปไข่กลับ เบี้ยว ยาว 2.5-6 ซม.
                   Hou, D. (1970). Rhizophoraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 14.  ปลายแหลม มีติ่งหนาม โคนกลมหรือรูปลิ่ม เบี้ยว แผ่นใบบาง ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น
                   Madani, L. and K.M. Wong. (1995). Rhizophoraceae. In Tree Flora of Sabah   หรือช่อคล้ายช่อซี่ร่มแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว
                      and Sarawak Vol. 1: 336, 338-339.              ประมาณ 2 มม. ปลายจัก 5 จัก รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกรูประฆัง ยาวประมาณ
                                                                     6 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก
                                                                     ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาวเท่าๆ หลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง มีก้าน
                                                                     สั้น ๆ ฝักอ่อนบิดเป็นเกลียว ฝักแก่เกือบตรง แบน รูปแถบ กว้างประมาณ 2 ซม. ยาว
                                                                     ได้ถึง 20 ซม. คอดตามเมล็ด เมล็ดรูปรี แบน ยาวประมาณ 1.3 ซม. เว้าทั้งสองด้าน
                                                                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือที่ตาก นครสวรรค์ และ
                                                                     ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามริมล�าธารในป่าเบญจพรรณ หรือเขาหินปูน
                                                                     ความสูง 200-900 เมตร
                  ไอ้แกรก: ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับเรียงชิดกันแน่นเป็นกระจุกกลม ปลายกลีบดอกมีรยางค์แฉกลึก
                คล้ายเส้นด้าย ผลแก่สีแดง (ภาพดอก: ทุ่งค่าย ตรัง - AM; ภาพผล: แว้ง นราธิวาส - MT)
                                                                       สกุล Thailentadopsis Kosterm. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Mimosoideae เผ่า Ingeae
                ฮอมดง                                                  มี 3 ชนิด พบที่ศรีลังกา 1 ชนิด และเวียดนามอีก 1 ชนิด ความสัมพันธ์ด้าน
                Dichroa febrifuga Lour.                                วิวัฒนาการยังไม่ชัดเจน บางครั้งถูกยุบอยู่ภายใต้สกุลอื่น ๆ หลายสกุล ชื่อสกุล
                                                                       หมายถึงประเทศไทย ซึ่งเป็นสกุลใหม่ที่ตั้งจากตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบของไทย
                วงศ์ Hydrangeaceae
                   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ก้านใบ และช่อดอก   เอกสารอ้างอิง
                                                                       Lewis, G.P. and B. Schrire. (2003). Thailentadopsis Kostermans (Leguminosae:
                กลีบดอก เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเพศเมีย และผลแก่สีน�้าเงิน ใบเรียงตรงข้าม รูปรีถึง  Mimosoideae: Ingeae) resurrected. Kew Bulletin 58: 491-494.
                รูปใบหอก ยาว 6-25 ซม. ใบอ่อนมักมีสีม่วงอมเขียว ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม   Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae (Pithecellobium tenue). In Flora
                ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น แยกแขนง กว้าง 5-10 ซม.   of Thailand Vol. 4(2): 205-206.
                ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านช่อยาว 5-10 ซม. ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม.
                กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายจักตื้น ๆ 4-7 กลีบ กลีบดอก 4-7 กลีบ บางรูปขอบขนาน
                ยาว 6-7 มม. พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 10-20 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 4-5 มม. อับเรณู
                รูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. รังไข่มี 3-5 ช่อง แนบติดหลอดกลีบเลี้ยงเกินกึ่งหนึ่ง
                ออวุลจ�านวนมาก พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ ก้านเกสรเพศเมีย 3-5 อัน ยาว
                ประมาณ 5 มม. ผลสดมีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-6 มม. เมล็ด
                ขนาดเล็ก ผิวเป็นร่างแห
                   พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นริมล�าธารหรือที่ชุ่มชื้นในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น
                และป่าดิบเขา ความสูง 200-2000 เมตร ทุกส่วนมีสรรพคุณลดไข้ (febrifuge) ซึ่งเป็น
                ที่มาของค�าระบุชนิด

                   สกุล Dichroa Lour. มีประมาณ 65 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียตะวันออก พบ
                   ประปรายในอเมริกาเขตร้อน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมีชนิดเดียว
                   ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dis” สอง และ “chroa” สี ตามลักษณะของดอกที่  ฮ่อสะพายควาย: ล�าต้นมีหนาม ใบประกอบ 2 ชั้น มีใบย่อยคู่เดียว แกนกลางใบประกอบมีปีก ช่อดอกคล้ายซี่ร่ม
                   ส่วนมากมี 2 สี คือสีน้ำาเงินอ่อน ๆ และน้ำาเงินเข้ม  แยกแขนง (ภาพซ้าย: อุ้มผาง ตาก - PK; ภาพขวา: กาญจนบุรี - RP)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Huang, S. and B. Bartholomew. (1970). In Saxifragaceae (Dichroa). In Flora of
                      China Vol. 8: 404.
                   Wongprasert, T. (2002). Hydrangeaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 662-664.

                488






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   488                                                                 3/1/16   6:36 PM
   503   504   505   506   507   508   509   510   511   512   513