Page 507 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 507

เอื้องหมายนา
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    กลีบเลี้ยงกลีบบนรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 2.4-3.3 ซม. ปลายแหลม กลีบคู่ข้าง  โคนกลม แผ่นใบด้านล่างมีขนยาวคล้ายไหมหนาแน่น ก้านใบยาว 5-7 มม. ช่อดอก
                    คล้ายกลีบบน กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง กลีบปาก  ออกที่ยอด รูปรี ยาว 10-15 ซม. ก้านช่อสั้น ใบประดับสีเขียวหรือน�้าตาลอมแดง
                    สีขาว รูปรี ยาว 2-2.7 ซม. จัก 3 พู พูข้างตั้งขึ้น กลม มีปื้นเหลืองและลายเส้น  รูปไข่ ปลายแหลม ยาว 1.2-2 ซม. แต่ละใบประดับมีดอกเดียว ใบประดับย่อย
                    สีน�้าตาล พูกลางรูปไข่กว้าง ยาว 1-1.2 ซม. โคนสองข้างมีปื้นเหลืองขอบน�้าตาล   ขนาดเล็กกว่าใบประดับ ขอบมีขนครุย หลอดกลีบเลี้ยงยาวได้ถึง 2 ซม. ปลายแยก
                    ขอบเรียบหรือจักไม่เป็นระเบียบ มีสัน 3 สัน เป็นแนวแคบ สันกลางสั้น เส้าเกสร  เป็น 3 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สีแดง ปลายกลีบมีขนยาวคล้ายไหม หลอดกลีบดอก
                    ยาว 1.3-1.6 ซม. ปลายกลม                             ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบดอกสีขาวหรืออมชมพู รูปรี ยาว 3-5 ซม. กลีบปากแผ่ออก
                       พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า และลาว ในไทยพบทางภาคเหนือ  คล้ายรูปแตร ยาว 6.5-9 ซม. กว้าง 5.5-7.5 ซม. ด้านในมีปื้นสีเหลือง เกสรเพศผู้
                    ที่แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และน่าน ขึ้นตามคบไม้ในป่าดิบเขา ความสูง 1300-2500 เมตร   ยาว 2.5-4.5 ซม. ก้านแผ่กว้าง 1-1.2 ซม. โคนมีปื้นสีเหลือง มีขนสั้นนุ่ม ผลกลม
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดสีด�า ขนาดเล็ก
                    ที่พบในไทย และลาวอาจเป็น subsp. chiangmaiensis Subedi ที่ใบค่อนข้างบาง
                                                                           พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี ออสเตรเลีย
                      เอกสารอ้างอิง                                     ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น
                       Chen, X. and D. Clayton. (2009). Orchidaceae (Coelogyne). In Flora of China   ป่าดิบเขา และป่าพรุ ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร คล้ายกับเอื้องหมายนา
                          Vol. 25: 325.
                       de Vogel, E.F. and H.Æ. Pedersen. (2014). Orchidaceae (Coelogyne). In Flora   ชนิด Cheilocostus lacerus (Gagnep.) C. D. Specht ที่ใบประดับเรียงหนา
                          of Thailand Vol. 12(2): 387-434.              แน่นเป็นช่อกว้าง ในช่อแก่ปลายใบประดับเป็นเส้นใย

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Larsen, K. (2008). Costaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(2): 101-106.
                                                                           Specht, C.D. and D.Wm. Stevenson. (2006). A new phylogeny-based generic
                                                                              classification of Costaceae (Zingiberales). Taxon 55(1): 153-163.








                      เอื้องหมากเลื่อม: ล�าลูกกล้วยรูปไข่เรียงชิดกัน ใบมี 2 ใบ กลีบปากสีขาว จัก 3 พู พูข้างตั้งขึ้น กลม มีปื้นเหลืองและ
                    ลายเส้นสีน�้าตาล พูกลางรูปไข่กว้าง โคนสองข้างมีปื้นเหลืองขอบสีน�้าตาล (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - SSi)
                    เอื้องหมายนา, สกุล
                    Cheilocostus C. D. Specht
                    วงศ์ Costaceae
                       ไม้ล้มลุก สูงมากกว่า 1 ม. เหง้าแผ่ออกด้านข้าง มีหัวใต้ดิน ล�าต้นตั้งตรง
                    หรือเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ยอดหรือออกจากเหง้า ใบประดับ
                    เรียงซ้อนเหลื่อม หนา ปลายแหลมคล้ายหนาม มี 1-2 ดอกในแต่ละใบประดับ   เอื้องหมายนา: C. speciosus ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ยอด ใบประดับสีเขียวหรือน�้าตาลอมแดง
                    ใบประดับย่อยเป็นหลอดบาง กลีบเลี้ยงแยกเป็น 3 กลีบ ปลายแหลมคล้ายหนาม   ปลายแหลม กลีบปากแผ่ออกคล้ายรูปแตร ด้านในมีปื้นสีเหลือง (ภาพซ้ายและขวาบน: บุรีรัมย์ - PK); เอื้องหมายนา:
                    กลีบดอก 3 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอด ยื่นพ้นหลอดกลีบเลี้ยง กลีบบาง กลีบปาก  C. lacerus ใบประดับเรียงหนาแน่นเป็นช่อกว้าง (ภาพขวาล่าง: cultivated - JM)
                    แผ่เป็นแผ่นขนาดใหญ่รูปไข่กลับ เกสรเพศผู้มีอันเดียว ก้านชูอับเรณูแผ่เป็นแผ่น
                    โคนเชื่อมติดกลีบปาก ปลายพับงอกลับ อับสปอร์สองแบบ (bisporangiate) ติดใต้
                    ปลายแผ่น แตกตามยาว ก้านเกสรเพศเมียอยู่ระหว่างอับสปอร์ รังไข่ใต้วงกลีบ มี
                    3 ช่อง ยอดมีต่อมน�้าต้อย พลาเซนตารอบแกนร่วม ออวุลจ�านวนมาก เรียง 2 แถว
                    ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู รูปถ้วย ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีขาว

                       สกุล Cheilocostus แยกออกมาจากสกุล Costus สกุลย่อย Eucostus ตามลักษณะ
                       กลีบปากแผ่เป็นแผ่นกว้าง ใบประดับแข็ง ส่วนสกุล Costus กลีบปากเป็นหลอด
                       ใบประดับบาง ปลายไม่แหลมคล้ายหนาม พบในอเมริกาเขตร้อนและแอฟริกา
                       ส่วนสกุล Cheilocostus พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน มีความใกล้ชิดกับสกุล
                       Tapeinochilos จำานวนชนิดยังไม่แน่นอน โดยเฉพาะกลุ่ม เอื้องดิน Cheilocostus
                       globosus (Blume) C. D. Specht ที่ยังมีความสับสนในการจำาแนก รวมถึง Costus
                       dhaninivatii K. Larsen และ Costus tonkinensis Gagnep. จึงยังไม่ได้ยุบให้
                       อยู่ภายใต้สกุล Cheilocostus อย่างเป็นทางการ ในไทยอาจมี 3-5 ชนิด ส่วนที่
                                                                          เอื้องหมายนาดอกเหลือง: หลอดกลีบดอกเรียวแคบ ใบประดับบาง ปลายไม่แหลมคล้ายหนาม (ภาพซ้าย:
                       พบเป็นไม้ประดับอยู่ภายใต้สกุล Costus และ Tapeinochilos ที่พบในภูมิภาค  cultivated - RP); เอื้องหมายนาดอกแดง: ดอกสีส้มอมแดง (ภาพขวา: cultivated - RP)
                       มาเลเซียและนิวกินี มี 3-4 ชนิด เช่น เอื้องหมายนาดอกแดง C. woodsonii
                       Maas เอื้องหมายนาดอกเหลือง C. varzearum Mass และขิงอินโดนีเซีย
                       T. ananassae (Hassk.) K. Schum. เป็นต้น ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “cheilos”
                       กลีบปาก และชื่อสกุล Costus

                    เอื้องหมายนา
                    Cheilocostus speciosus (J. Koenig) C. D. Specht
                      ชื่อพ้อง Banksea speciosa J. Koenig, Costus speciosus (J. Koenig) Sm.
                       ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน สูง 1-3 ม. บางครั้งแตกกิ่ง ใบเรียงเวียน ใบด้านล่างมักลดรูป
                    ใบช่วงบนรูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 15-23 ซม. ปลายแหลมยาว   ขิงอินโดนีเซีย: ช่อดอกรูปโคนกว้าง ดอกขนาดเล็กสีส้มอมเหลือง (ภาพ: cultivated - RP)


                                                                                                                    487






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   487                                                                 3/1/16   6:36 PM
   502   503   504   505   506   507   508   509   510   511   512