Page 502 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 502

เอื้องดินจีน


                เอื้องดินจีน        สารานุกรมพืชในประเทศไทย          เอื้องตาเหิน
                Bletilla foliosa (King & Pantl.) Tang & F. T. Wang   Dendrobium infundibulum Lindl.
                วงศ์ Orchidaceae                                       กล้วยไม้อิงอาศัย แตกกอหนาแน่น สูงได้ถึง 50 ซม. ล�าต้นขนาดเล็ก ต้นอ่อนมี
                  ชื่อพ้อง Pogonia foliosa King & Pantl., Bletilla sinensis (Rolfe) Schltr.  ขนสั้นนุ่มสีด�าหนาแน่น ใบรูปใบหอก ยาว 4-10 ซม. ปลายจัก 2 พู ตื้น ๆ ไร้ก้าน
                   กล้วยไม้ดิน สูง 10-20 ซม. หัวใต้ดินกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. ใบบาง  ช่อดอกออกใกล้ยอด มี 1-3 ดอก ดอกสีขาว โคนกลีบปากด้านในสีน�้าตาลอมส้ม
                คล้ายหญ้า พับจีบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 4-12 ซม. ใบด้านนอกลดรูป  กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 3-4 ซม. ปลายแหลม คางรูปกรวย ปลายมน กลีบดอก
                เป็นกาบใบ ปลายแหลมยาว โคนเรียวเป็นกาบหุ้มล�าต้น เส้นใบจ�านวนมาก ช่อดอก  รูปไข่กลับ ยาวกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย แต่กว้างกว่าเกือบ 2 เท่า กลีบปากรูปขอบขนาน
                แบบช่อกระจะ ตั้งตรง ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ก้านช่อยาว 5-12 ซม. แกนช่อยาว   ยาวเท่า ๆ กลีบดอก โคนด้านในมีสันนูน 3-5 สัน ปลายจัก 3 พู พูข้างกลมกว้าง
                1-2 ซม. มี 1-10 ดอก ใบประดับและใบประดับย่อยรูปใบหอก ใบประดับยาวได้ถึง   พูปลายเว้าลึก ขอบจักไม่เป็นระเบียบ ด้านบนโค้งเข้ารูปตัววี เส้าเกสรยาวประมาณ
                1 ซม. ใบประดับย่อยยาว 3-6 มม. กลีบเลี้ยงแยกกัน รูปขอบขนาน สีขาวหรือ   7 มม. ก้านดอกรวมรังไข่ยาว 3-4 ซม.
                ชมพูอ่อน ปลายมีสีเข้ม ยาว 1-1.2 ซม. กลีบดอกคู่ข้างคล้ายกลีบเลี้ยง กลีบปากรูปรี  พบที่อินเดีย พม่า ลาว ในไทยพบกระจายทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                หรือรูปไข่กลับ ยาว 1-1.3 ซม. สีขาว มีจุดสีม่วงกระจาย มีปื้นสีม่วงตามขอบชาย  ที่เลย และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามคบไม้ในป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา
                ครุย มีสันนูนเป็นแนว 3 แนว จักชายครุย มีขนต่อมตามแนวนูน เส้าเกสรโค้ง   ความสูง 1000-2000 เมตร คล้ายกับเอื้องแซะ D. wattii (Hook. f.) Rchb. f. ที่ดอก
                เกลี้ยง ยาวประมาณ 1 ซม. ไม่มีเดือย จะงอยแผ่กว้าง กลุ่มอับเรณู 8 กลุ่ม แยกเป็น   และกลีบปากด้านบนโค้งเข้ารูปตัววีขนาดเล็กกว่า พูกลีบปากด้านข้างขนาดค่อนข้าง
                2 กลุ่มย่อย ก้านดอกรวมรังไข่ยาว 0.7-1 ซม. บิดเวียน   ใหญ่กว่าพูกลาง ถิ่นที่อยู่คล้าย ๆ กัน แต่พบหนาแน่นน้อยกว่าเอื้องตาเหิน ขึ้นตาม
                   พบทางตอนบนของพม่า และภาคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่   คบไม้ในป่าดิบเขาสูงทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาว และดอยอินทนนท์ จังหวัด
                ดอยหัวหมด จังหวัดตาก และภูสอยดาว จังหวัดอุตรดิตถ์ ขึ้นบนเขาหินปูนที่เปิดโล่ง   เชียงใหม่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ภูหลวง จังหวัดเลย
                ความสูง 900-1500 เมตร
                                                                     เอื้องทอง
                   สกุล Bletilla Rchb. f. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroidea เผ่า Arethuseae มี  Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang
                   ประมาณ 5 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลหมายถึงสกุลที่คล้ายกับกล้วยไม้  กล้วยไม้อิงอาศัย ล�าต้นหนา ยาวได้ถึง 50 ซม. มีริ้วตามยาว ใบเรียงเวียน
                   สกุล Bletia ที่ตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสเปน Luis Blet
                                                                     ตลอดความยาว รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-5 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ๆ โคนเว้า
                  เอกสารอ้างอิง                                      โอบล�าต้น ช่อดอกออกตรงข้ามใบ มีดอกเดียว ดอกสีขาว กลีบปากสีครีมอมเหลือง
                   Seidenfaden, G. (1978). Orchid genera in Thailand VI: Neottioideae. Dansk   มีสันสีน�้าตาล กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 8 มม. พับงอกลับ คางยาวประมาณ
                      Botanisk Arikiv 32(2): 182-183.                7 มม. เป็นเหลี่ยม กลีบดอกรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แคบกว่าเล็กน้อย
                   Suddee, S. (2014). Orchidaceae (Bletilla). In Flora of Thailand Vol. 12(2): 330-332.  กลีบปากยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายจัก 3 พู โค้ง พับงอตามแกนกลางเล็กน้อย
                                                                     พูข้างรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ยาวประมาณ 2 มม. พูกลางรูปรีกว้าง ยาวประมาณ
                                                                     1 ซม. กว้างประมาณ 1.5 ซม. ปลายตัดหรือเว้ากว้าง โคนมีสันนูน 3 สัน เส้าเกสร
                                                                     ยาวกว่า 1 ซม. ก้านดอกรวมรังไข่ยาวประมาณ 2 ซม.
                                                                       พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามคบไม้
                                                                     ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูง 300-1000 เมตร

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Seidenfaden, G. (1985). Orchidaceae genera in Thailand XII. Dendrobium Sw.
                                                                          Opera Botanica 83: 1-295.
                                                                       Zhu, G., Z. Ji, J.J. Wood and H.P. Wood. (2009). Orchidaceae (Dendrobium).
                  เอื้องดินจีน: ใบบางคล้ายหญ้า พับเป็นจีบ ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ แกนกลางช่อสั้น กลีบปากมีปื้นสีม่วง  In Flora of China Vol. 25: 367, 388.
                ตามขอบชายครุย มีสันนูนเป็นแนว 3 แนว (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก; ภาพซ้าย - RP, ภาพขวา - PK)
                เอื้องตาเหิน, สกุล
                Dendrobium Sw.
                วงศ์ Orchidaceae
                   กล้วยไม้อิงอาศัย ขึ้นบนคบไม้หรือหิน พบน้อยที่ขึ้นบนพื้นดิน มีเหง้าหรือไม่มี
                ล�าต้นเทียมมีหลายรูปแบบ ส่วนมากเจริญด้านข้าง บางครั้งทิ้งใบก่อนออกดอก
                ใบเรียงสลับระนาบเดียวหรือเรียงเวียน ปลายกาบจัก 2 พู หรือเว้าตื้น ช่อดอกส่วนมาก
                แบบช่อกระจะ ออกตามด้านข้างหรือซอกใบ ใบประดับร่วงเร็วหรือติดทน กลีบเลี้ยง
                คล้ายกัน กลีบคู่ข้างเชื่อมติดโคนเส้าเกสรยืดยาวเป็นคาง (mentum) กลีบดอก  เอื้องตาเหิน: กล้วยไม้อิงอาศัย แตกกอหนาแน่น ดอกสีขาว โคนกลีบปากด้านในสีน�้าตาลอมส้ม ปลายกลีบปากจัก 3 พู
                แยกกัน เรียบหรือจักชายครุย กลีบปากเรียบหรือจัก 3 พู เชื่อมติดที่โคนเส้าเกสร   พูข้างกลมกว้าง พูปลายเว้าลึก ขอบจักไม่เป็นระเบียบ ด้านบนโค้งเข้ารูปตัววี (ภาพ: ภูหลวง เลย - PK)
                บางครั้งมีเดือย จานฐานดอกมีสันนูน บางครั้งมีปุ่ม เส้าเกสรสั้น หนา โคนยาว
                ปลายจะงอย (stelidia) ชัดเจนหรือไม่ชัดเจน มีแป้นเหนียว กลุ่มอับเรณู 4 กลุ่ม
                แยกเป็น 2 คู่ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ไม่มีก้าน

                   สกุล Dendrobium อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroideae เผ่า Podochileae มี
                   ประมาณ 1100 ชนิด พบในเอเชีย รวมญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
                   ในไทยมีประมาณ 163 ชนิด ซึ่งนับว่าเป็นสกุลกล้วยไม้ที่มีมากที่สุดของไทย
                   หรือรู้จักกันในชื่อสกุลหวาย เนื่องจากลำาต้นมักมีข้อคล้ายหวาย ชื่อสกุลมาจาก
                   ภาษากรีก “dendron” ต้นไม้ และ “bios” อาศัย ตามลักษณะวิสัยที่ส่วนมากขึ้น
                   อิงอาศัยบนต้นไม้
                                                                      เอื้องทอง: ล�าต้นหนา โคนใบเว้าโอบล�าต้น ช่อดอกมีดอกเดียว กลีบปากปลายจัก 3 พู พับงอตามแกนกลาง พูข้าง
                                                                     รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก พูกลางปลายตัดหรือเว้ากว้าง (ภาพ: เกาะช้าง ตราด - PK)

                482






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   482                                                                 3/1/16   6:35 PM
   497   498   499   500   501   502   503   504   505   506   507