Page 504 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 504
เอื้องเปราะขาว
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
เอื้องผาหมอก
Coelogyne xyrekes Ridl.
วงศ์ Orchidaceae
กล้วยไม้อิงอาศัย ล�าลูกกล้วยรูปไข่ เป็นเหลี่ยม ยาว 4-8 ซม. มีใบเดียว รูป
ขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 20-37 ซม. เส้นใบ 3-5 เส้น ก้านใบ
ยาว 2-9 ซม. ช่อดอกออกที่ยอด ห้อยลง ก้านช่อยาว 7-15 ซม. แกนช่อยาวประมาณ
2-6 ซม. มี 1-4 ดอก ใบประดับยาว 5-5.5 ซม. ร่วงเร็ว ดอกขนาดใหญ่สีขาว
หรืออมชมพู กลีบเลี้ยงบนรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 4-5.5 ซม. กลีบคู่ข้างรูปไข่กลับ
แกมรูปขอบขนาน ยาว 4-6 ซม. กลีบดอกรูปแถบ ยาว 4-5.5 ซม. ปลายแหลม
กลีบปากมีปื้นสีส้มอมแดง ยาว 3-5 ซม. จัก 3 พู พูข้างขนาดเล็ก รูปรี ยาว
3.5-5.5 มม. ปลายกลม พูกลางรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม ยาว 1.2-2 ซม. มีก้านกลีบ
สั้น ๆ ขอบเป็นคลื่น มีสัน 2 แนว เรียงจรดโคน มีตุ่มกระจาย ปลายมนหรือกลม
เอื้องนิลเหลือง: ใบพับจีบ ออกที่โคนต้น 1-5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก มีเส้นใบย่อยเรียงตามขวางชัดเจน เส้าเกสรสีเหลืองซีด ยาว 2.5-4 ซม. ปลายเป็นตะขอคล้ายปีก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
ช่อดอกแบบช่อกระจะ แกนช่อสีม่วงเข้ม กลีบรวม 6 กลีบ ด้านนอกสีม่วงแกมเขียว ด้านในสีเหลือง (ภาพ: ห้วยขาแข้ง เอื้องหมาก, สกุล)
อุทัยธานี - SSi)
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทยที่พังงา กระบี่ สตูล ตรัง
เอื้องเปราะขาว ขึ้นตามคบไม้ในป่าดิบเขา ความสูง 700-1900 เมตร
Diplomeris pulchella D. Don เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Orchidaceae de Vogel, E.F. and H.Æ. Pedersen. (2014). Orchidaceae (Coelogyne). In Flora
กล้วยไม้ดิน มีหัวใต้ดิน รูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. ล�าต้นสั้น เกลี้ยง มี 2-3 ใบ of Thailand Vol. 12(2): 433-434.
รูปดาบหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 11 ซม. ปลายแหลม มีติ่ง โคนใบเรียวแคบเป็นกาบ
แผ่นใบเกลี้ยง ช่อดอกออกจากซอกใบ ตั้งตรง ยาว 8-16 ซม. ใบประดับรูปไข่กว้าง
ยาว 0.8-1.6 ซม. มีเส้นใบ 3-5 เส้น ปลายแหลมมีติ่ง ดอกส่วนมากมีดอกเดียว สีขาว
พลิกกลับ กลีบเลี้ยงยาวเท่า ๆ กัน รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม.
กลางกลีบเป็นสัน ปลายแหลม กลีบข้างเรียวกว่าและเบี้ยวเล็กน้อย กลีบดอกแยก
กัน กลีบคู่ข้างรูปไข่กลับ ยาว 1.3-2 ซม. ปลายแหลม กลีบปากบานออก รูปไข่กลับ
กว้าง ยาวเท่า ๆ กลีบดอกหรือยาวกว่าเล็กน้อย ปลายเว้าตื้น มีติ่งแหลม เดือยโค้ง
ลง ยาว 3-4.5 ซม. เส้าเกสรยาว 6.5-9 มม. ยอดเกสรเพศเมียยื่นออก 2 อัน ปลาย
เส้าเกสรมีแผ่นจะงอย กลุ่มอับเรณู 2 กลุ่ม ที่โคนมีแป้นเหนียว 2 อัน รังไข่รวม
ก้านดอกยาว 0.6-1.5 ซม. เกลี้ยง เอื้องผาหมอก: กล้วยไม้อิงอาศัย แต่ละล�าลูกกล้วยมีใบเดียว ช่อดอกออกที่ยอด ห้อยลง ดอกขนาดใหญ่สีขาวหรือ
อมชมพู กลีบปากมีปื้นมีส้มอมแดง มีสัน 2 แนวจรดโคน มีตุ่มกระจาย (ภาพ: เขานัน นครศรีธรรมราช - NT)
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบนที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ขึ้นริมล�าธารบนหินทราย ความสูง 300-400 เมตร เอื้องพลายงาม
Pleione praecox (Sm.) D. Don
สกุล Diplomeris D. Don อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Orchidoideae เผ่า Orchideae มี
2 ชนิด พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า และเวียดนามตอนบน วงศ์ Orchidaceae
ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “diploos” ซ้อน และ “meris” ชื่อพ้อง Epidendrum praecox Sm.
แต่ละส่วน ตามลักษณะกลีบดอก กลีบเลี้ยง และเส้าเกสรมียอดเกสรเพศเมีย กล้วยไม้อิงอาศัย หรือขึ้นบนพื้นดิน ล�าลูกกล้วยรูปไข่ ปลายตัด ยาว 1-3.5 ซม.
และแผ่นจะงอย คอคอด ต้นอ่อนมีกาบหุ้ม ส่วนมากมี 2 ใบ ออกที่ปลายล�าลูกกล้วย รูปใบหอกกลับ
ยาว 10-25 ซม. ก้านใบสั้นมาก ช่อดอกออกก่อนผลิใบ ออกที่โคนล�าลูกกล้วย มี
เอกสารอ้างอิง 1-2 ดอก ยาวได้ถึง 12 ซม. ก้านช่อมีกาบหุ้ม ใบประดับรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม.
Chen, X., S.W. Gale and P.J. Cribb. (2009). Orchidaceae (Diplomeris) In Flora
of China Vol. 25: 162. ติดทน ดอกสีชมพูอมม่วง พลิกกลับ กลีบเลี้ยงแยกกัน กลีบบนรูปใบหอก ยาว
Pedersen, H.Æ. (2011). Orchidaceae (Diplomeris). In Flora of Thailand Vol. 5.5-6 ซม. มีเส้นกลีบ 5 เส้น กลีบคู่ข้างยาวเท่า ๆ กลีบบน โค้งเล็กน้อย กลีบดอก
12(1): 53-54. รูปแถบ ยาว 5-7 ซม. ปลายแหลมหรือมน มีเส้นกลีบ 1-3 เส้น กลีบปากรูปไข่
ยาว 4-5 ซม. จัก 3 พู ไม่ชัดเจน มีจุดเป็นปื้นสีม่วงกระจาย พูกลางรูปไข่กว้าง
ปลายจักชายครุยแบบซี่ฟันตื้น ๆ พูข้างมีสัน 3-7 แนวเป็นปุ่มเล็ก ๆ เส้าเกสรโค้ง
ยาว 3.5-4.5 ซม. ด้านบนคล้ายปีก ปลายจัก กลุ่มอับเรณูมี 4 กลุ่ม แยกเป็น 2 คู่
มีแป้นเหนียว ก้านดอกรวมรังไข่ยาว 1-1.5 ซม.
พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทาง
ภาคเหนือที่เชียงใหม่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง
1400-2400 เมตร
สกุล Pleione D. Don มีประมาณ 21 ชนิด พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ
จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ลาว และกัมพูชา ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ P. maculata
(Lindl.) Lindl. & Paxton ดอกสีครีม ชื่อสกุลตั้งตาม Pleione มารดาของลูกสาวทั้งเจ็ด
ของ Titan Atlas ที่เป็นชื่อเรียกกลุ่มดาวลูกไก่ ในนิยายกรีกโบราณ
เอกสารอ้างอิง
เอื้องเปราะขาว: ใบรูปแถบ ปลายแหลม มีติ่ง ช่อดอกมีดอกเดียว ดอกสีขาว พลิกกลับ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ยาวเท่า ๆ กัน Suddee, S. and P.J. Cribb. (2014). Orchidaceae (Pleione). In Flora of Thailand
กลางกลีบเป็นสัน กลีบปากบานออก รูปไข่กลับกว้าง ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ปลายเว้าตื้น มีติ่งแหลม เดือยยาว โค้งลง Vol. 12(2): 609-613.
(ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - RP)
484
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 484 3/1/16 6:35 PM