Page 503 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 503

เอื้องน้ำาต้น, สกุล                                            สารานุกรมพืชในประเทศไทย  เอื้องนิลเหลือง
                    Calanthe R. Br.
                    วงศ์ Orchidaceae
                       กล้วยไม้ดิน ขึ้นบนหิน พบน้อยที่อิงอาศัย มีเหง้าหรือไม่มี มักแตกกอ ล�าลูกกล้วย
                    ขนาดเล็ก ส่วนมากไม่ทิ้งใบตอนออกดอก ใบอ่อนม้วนตามยาว พับจีบ บางครั้ง
                    ไม่พัฒนา ปลายแหลมยาว โคนสอบเรียว มีกาบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่โคน
                    ซอกใบ มักมีขนสั้นนุ่ม ใบประดับร่วงเร็วหรือติดทน กลีบเลี้ยง แยกกัน ส่วนมาก
                    มีขน กลีบดอกส่วนมากขนาดเล็กกว่ากลีบเลี้ยง เกลี้ยง กลีบปากเชื่อมติดที่โคน
                    กลีบดอกคู่ข้างคล้ายเป็นหลอด หรือติดที่โคนแยกกัน กลีบปากจัก 2-3 พู หรือ
                    เรียบ โคนกลีบด้านในส่วนมากมีสันนูน (callus) มีเดือยยาว จานฐานดอกเป็น
                    ชั้น ๆ มีสันนูนหรือมีรยางค์ที่โคน เส้าเกสรสั้น หนา มีปีก มักมีจะงอยเป็นแผ่น
                    ยอดเกสรเพศเมียติดด้านข้าง กลุ่มอับเรณู 8 กลุ่ม รูปกระบอง มีแป้นเหนียว
                    รังไข่รวมก้านส่วนมากมีขนสั้นนุ่ม ผลแห้งแตก
                       สกุล Calanthe อยู่วงศ์ย่อย Epidendroideae เผ่า Arethuseae มี 207 ชนิด
                       พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย ออสเตรเลีย หมู่เกาะแปซิฟิก และพบ  เอื้องน�้าต้น: ใบพับจีบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ มีขนหนาแน่น ดอกมีหลากสี กลีบปากโคนเชื่อมติดโคนเส้าเกสร
                       ในอเมริกากลาง 1 ชนิด ในไทยมี 23 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kolos”   ปลายบานออก จัก 3 พู พูข้างกว้าง ห่อเข้า พูกลางคล้ายรูปพัด (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - SSi)
                       สวยงาม และ “anthos” ดอก หมายถึงกล้วยไม้มีดอกสวยงาม

                    เอื้องน้ำาต้น
                    Calanthe cardioglossa Schltr.
                       กล้วยไม้ดิน ล�าลูกกล้วยรูปไข่ คอดคล้ายน�้าเต้า ยาว 2.5-8.5 ซม. ใบรูปขอบขนาน
                    หรือรูปใบหอก ยาว 15-47 ซม. ก้านใบ ยาว 3-9 ซม. ก้านช่อดอกยาว 10-53 ซม.
                    มีขนหนาแน่น แกนช่อยาว 5-22 ซม. ใบประดับรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว
                    1-5 ซม. ใบประดับย่อยขนาดเล็กกว่า ติดทน ดอกสีชมพู อมเหลือง หรือขาว
                    เปลี่ยนเป็นสีน�้าตาลอมส้มเข้มก่อนร่วง กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว
                    0.8-1.4 ซม. ปลายแหลม กลีบดอกคู่ข้างยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แคบกว่าเล็กน้อย
                    กลีบปากโคนเชื่อมติดโคนเส้าเกสร ปลายบานออก ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ปลายจัก
                    3 พู พูข้างกว้าง ห่อเข้า พูกลางรูปขอบขนานคล้ายรูปพัด ปลายตัดหรือเว้าตื้น ๆ
                    ด้านในมีจุดสีเข้มหนาแน่น โคนมีแนวยาว 3 สัน เดือยเรียว ยาว 1-2.8 ซม. เส้าเกสร  เอื้องน�้าต้นเชียงดาว: ดอกสีเขียวอมเหลือง กลีบปากโคนติดกลีบปีก หุ้มเส้าเกสร ปลายบานออกรูปคล้ายไต
                    ยาว 3-5 มม. คางยาว 3-4 มม. จะงอยจัก 2 พู ก้านดอกรวมรังไข่ยาว 2-5 ซม.   ปลายเว้าตื้น ๆ (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)
                    ผลรูปรี ยาวประมาณ 2 ซม.                             เอื้องนิลเหลือง
                       พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ส่วนมาก  Peliosanthes brevicoronata M. N. Tamura & Poopath
                    ขึ้นบนพื้นดินในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา หรือบนเขาหินปูน ความสูง   วงศ์ Asparagaceae
                    300-1700 เมตร
                                                                           ไม้ล้มลุก เหง้าแตกแขนงคล้ายสายลูกปัด ยาว 2-4.7 ซม. รากหนา ล�าต้น
                    เอื้องน้ำาต้นเชียงดาว                               ไม่ชัดเจน มีกาบบางแห้งหุ้มโคนก้านใบและก้านดอก ใบพับจีบ ออกที่โคนต้น
                                                                        1-5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 15.5-22.5 ซม. ปลายแหลมยาว โคนสอบ
                    Calanthe simplex Seidenf.                           ขอบใบมีขนสาก มีเส้นใบย่อยเรียงตามขวางชัดเจน ก้านใบยาว 14-30 ซม. ช่อดอก
                       กล้วยไม้ดิน ล�าลูกกล้วยมีขนาดเล็ก รูปกรวย เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มี   แบบช่อกระจะออกที่ยอด แกนสีม่วงเข้ม แกนช่อยาว 6-7 ซม. ก้านช่อยาว 3.3-5 ซม.
                    2-3 ใบ รูปใบหอก ยาว 20-60 ซม. ก้านใบยาว 7-15 ซม. ช่อดอกออกตามซอกกาบ   ใบประดับโคนช่อมี 2-7 ใบ รูปใบหอกแคบ ๆ ยาวได้ถึง 1.5 ซม. ก้านดอกยาว
                    มีขนประปราย ก้านช่อยาว 30-75 ซม. แกนช่อยาว 10-20 ซม. มี 12-30 ดอก   1.2-2 มม. ใบประดับยาวได้ถึง 1 ซม. ใบประดับดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบรวม 6 กลีบ
                    ใบประดับ รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 2-4 ซม. ใบประดับย่อยสั้นกว่าเล็กน้อย ติดทน   รูปรี โคนเชื่อมติดกัน ด้านนอกสีม่วงแกมเขียว ด้านในสีเหลือง วงนอก 3 กลีบ
                    ดอกสีเขียวอมเหลือง เปลี่ยนเป็นสีเข้มก่อนร่วง กลีบเลี้ยงรูปรีหรือรูปขอบขนาน   ยาว 3-3.6 มม. วงใน 3 กลีบ สั้นกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 6 อัน โคนก้านชูอับเรณู
                    ยาว 0.8-1.4 ซม. ปลายแหลม กลีบดอกคู่ข้างคล้ายกลีบเลี้ยง แคบและสั้นกว่า  เชื่อมติดกันคล้ายกะบัง ช่วงแยกยาวประมาณ 1 มม. รังไข่กึ่งกลางวงกลีบ มี 3 ช่อง
                    เล็กน้อย ปลายกว้าง กลีบปากโคนติดกลีบปีก หุ้มเส้าเกสร ปลายบานออกรูป  ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม.
                    คล้ายไต ยาว 1-1.5 ซม. ขอบเรียบ ปลายเว้าตื้น ๆ โคนด้านในสันนูน 3 แนว   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี
                    เดือยเรียว ยาว 0.8-1.4 ซม. มีขนสั้นนุ่มประปราย เส้าเกสรยาว 4-8 มม. หนา   ขึ้นตามที่ชุ่มชื้นในป่าดิบแล้ง ความสูง 600-1000 เมตร
                    มีขนยาวหนาแน่น ก้านดอกรวมรังไข่ยาว 1.2-1.8 ซม.
                       พบที่จีนตอนใต้ และภาคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้น  สกุล Peliosanthes Andrews เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Liliaceae หรือ Convallariaceae
                    ตามซอกหินปูนที่เปิดโล่ง ความสูง 1800-2300 เมตร         มีประมาณ 30 ชนิด พบที่อินเดีย เนปาล บังกลาเทศ จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน
                                                                           และมาเลเซีย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “pelios” สีม่วงดำา และ “anthos” ดอก
                      เอกสารอ้างอิง                                        ตามลักษณะสีของช่อดอกและดอก
                       Chen, X., P.J. Cribb and S.W. Gale. (2009). Orchidaceae (Calanthe). In Flora
                          of China Vol. 25: 292, 299.                     เอกสารอ้างอิง
                       Kurzweil, H. (2014). Orchidaceae (Calanthe). In Flora of Thailand Vol. 12(2):   Chen, X. and M.N. Tamura. (2000). Liliaceae (Peliosanthes). In Flora of China
                          341-376.                                            24: 261.
                       Seidenfaden, G. (1975). Orchid genera in Thailand I: Calanthe R.Br. Dansk   Tamura, M.N., M. Poopath and S. Sirimongkol. (2013). Peliosanthes brevicoronata
                                                                              (Asparagaceae), a new species from Thailand. Acta Phytotaxonomica et
                          Botanisk Arkiv 29(2): 1-49.
                                                                              Geobotanica 64(2): 107-111.
                                                                                                                    483






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   483                                                                 3/1/16   6:35 PM
   498   499   500   501   502   503   504   505   506   507   508