Page 498 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 498

อุตพิดหิน


                อุตพิดหิน           สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Cryptocoryne albida R. Parker
                วงศ์ Araceae
                   ไม้ล้มลุกขึ้นในน�้า มีเหง้าและไหล มีเกล็ดหุ้มยอดในต้นที่มีดอก ใบสีเขียวหรือ
                มีปื้นน�้าตาล รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลม โคนสอบเรียว
                จรดก้านใบ ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ กาบหุ้มช่อสีครีมอมน�้าตาล ยาว
                10-20 ซม. โคนหลอดกาบเชื่อมติดกัน (kettle) ยาว 0.8-1.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ
                หลอดกาบช่วงบนยาว 5-15 ซม. ปลายบานออก ยาว 1-4 ซม. บิดเวียน พับงอกลับ
                ไม่มีช่วงคอกาบ (collar) ช่อดอกเชิงลดขนาดเล็ก ติดภายในโคนหลอดกาบ   อู่ชด: ใบเรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูปไข่กลับหรือรูปรี ผลรูปรีหรือรูปไข่ เปลือกเรียบ แบนด้านข้างเล็กน้อย
                ดอกเพศผู้จ�านวนมากอยู่ช่วงบน ปลายช่อมีรยางค์ขนาดเล็ก อับเรณูมี 2 พู มีเขา  (ภาพ: เขาพนมเบญจา กระบี่ - SR)
                สั้น ๆ ดอกเพศเมียอยู่ช่วงล่าง มี 4-7 ดอก เชื่อมติดกันเป็นวงเดียว ยอดเกสรตั้งขึ้น   เอ็นลื่น
                รูปไข่ ยอดเกสรโค้งออก ช่วงเปลือยเรียวยาว ผลรูปรีกว้าง ดูคล้ายผลรวม มี 1 หรือ
                หลายผล ยาว 1-1.5 ซม. รวมก้านหนา แต่ละผลแตกเป็นซีก เมล็ดสีน�้าตาลจ�านวนมาก   Merremia peltata (L.) Merr.
                ผิวย่น ยาว 5-8 มม.                                   วงศ์ Convolvulaceae
                   พบที่พม่าตอนใต้ ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามพื้น  ชื่อพ้อง Convolvulus peltatus L.
                ทรายหรือก้อนหิน ริมล�าธารหรือในล�าธาร ในป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ   ไม้ล้มลุกเถา ยาวได้ถึง 30 ม. ล�าต้นเกลี้ยง ใบแบบก้นปิด รูปไข่กว้างเกือบกลม
                                                                     ยาว 7-30 ซม. ปลายแหลมยาวหรือมีติ่งแหลม โคนมนหรือกลม ก้านใบยาวได้ถึง
                   สกุล Cryptocoryne Fisch. ex Wydl. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Aroideae เผ่า    20 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ยาวได้ถึง 40 ซม. ก้านช่อยาว 5-15 ซม. ก้านดอก
                   Cryptocoryneae มีประมาณ 60 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ทุกชนิดเป็นพืชน้ำา   ยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายก้านหนา กลีบเลี้ยงปลายมนมีติ่งแหลม กลีบนอก 3 กลีบ
                   หรือสะเทินน้ำาสะเทินบก (amphibious) ในไทยมี 8 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก   รูปไข่ ยาว 1.8-2.5 ซม. กลีบคู่ในรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาวเท่าๆ กลีบนอกแต่
                   “kryptos” ซ่อน และ “koryne” กระบอง ตามรูปร่างของช่อดอกและช่อผลรูป  บางกว่า ดอกรูปปากแตร สีเหลืองเข้ม ยาว 4-6 ซม. ก้านชูอับเรณูมีขนช่วงโคน
                   กระบองมีกาบหุ้ม                                   อับเรณูบิดเวียน ปลายมีกระจุกขน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปไข่กว้าง ยาว 2.5-3 ซม.
                  เอกสารอ้างอิง                                      เมล็ดรูปคล้ายสามเหลี่ยม ยาว 6-8 มม. มีขนยาวสีน�้าตาลหนาแน่น (ดูข้อมูล
                   Jacobsen, N., T. Idei and D. Sookchaloem. (2012). Araceae (Cryptocoryne). In   เพิ่มเติมที่ จิงจ้อเหลือง, สกุล)
                      Flora of Thailand Vol. 11(2): 218-232.
                                                                       พบที่แอฟริกาตะวันออก มาดากัสการ์ ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทย
                                                                     พบทางภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต พังงา นราธิวาส ขึ้นตาม
                                                                     ชายป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 150 เมตร ในบางพื้นที่ขึ้นเป็นวัชพืช ดอกมีทั้ง
                                                                     สีขาวและสีเหลือง ในไทยพบเฉพาะสีเหลือง น�้ายางขาวใช้ทาแผลสด แผลน�้าร้อนลวก
                                                                     และเป็นยาระบาย

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Hoogland, R.D. (1953). Convolvulaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 452-453.
                                                                       Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 439-440.


                  อุตพิดหิน: ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ ปลายกาบหุ้มช่อดอกบิดเวียน (ภาพ: คลองพนม
                สุราษฎร์ธานี - RP)
                อู่ชด
                Terminalia foetidissima Griff.
                วงศ์ Combretaceae
                  ชื่อพ้อง Myrobalanus foetidissima (Griff.) Kuntze
                   ไม้ต้น สูง 30-40 ม. เปลือกแตกเป็นร่องตามยาว เปลือกในสีครีม มีขนสั้นนุ่ม
                                                                      เอ็นลื่น: ใบแบบก้นปิด ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น กลีบดอกสีเหลืองเข้ม รูปปากแตร อับเรณูบิดเวียน ปลายมีกระจุกขน
                ตามกิ่งอ่อน ช่อดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยงด้านนอก จานฐานดอก และรังไข่   (ภาพ: ท่าศาลา นครศรีธรรมราช - RP)
                ใบเรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูปไข่กลับหรือรูปรี ยาว 5-18 ซม. ปลายแหลม
                มีติ่งสั้น ๆ หรือมน โคนรูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 1.5-2.2 ซม.   เอนอ้า, สกุล
                มีต่อม 2 ต่อมบนก้านใกล้โคนใบ และต่อมตามซอกเส้นแขนงใบ ช่อดอกแบบ  Osbeckia L.
                ช่อเชิงลด ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาว 6-12 ซม. ดอกสีเหลืองเข้ม มีกลิ่นเหม็น   วงศ์ Melastomataceae
                ใบประดับรูปเส้นด้าย ไม่มีกลีบดอก หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยก
                5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ปลายกลีบโค้งลง ด้านในมีขนยาว เกสรเพศผู้ยาว   ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม ล�าต้นและกิ่งมักเป็นเหลี่ยม ส่วนมากมีขนสั้นนุ่ม ใบส่วนมาก
                3-4 มม. ก้านยอดเกสรเพศเมียสั้นกว่าเกสรเพศผู้ ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีหรือรูปไข่   เรียงตรงข้าม ขอบเรียบ เส้นโคนใบข้างละ 1-3 เส้น เส้นใบย่อยเรียงขนานกันคล้าย
                ยาว 3-4 ซม. เปลือกเรียบ เกลี้ยง แบนทางด้านข้างเล็กน้อย ผลแก่เป็นสันย่น   ขั้นบันได ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงหรือช่อกระจุกแน่น ออกตามปลายกิ่ง
                ส่วนมากมีเมล็ดเดียว รูปรี ยาว 1.5-2 ซม. ผิวเมล็ดย่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติ่มที่ สมอ, สกุล)  กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 4-5 กลีบ ขอบส่วนมากมีขนครุยหรือขนแข็ง
                                                                     กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก ติดบนฐานดอกรูปถ้วยหรือรูปคนโท ดอกสีชมพูอมม่วง กลีบดอก
                   พบที่พม่า เวียดนาม มาเลเซีย สุมาตรา และ ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคใต้   ส่วนมากรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้มี 8 หรือ 10 อัน เรียง 2 วง อับเรณูรูปขอบขนาน
                ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ                 ขนาดเท่า ๆ กัน ปลายเป็นจะงอย มีรูเปิดที่ปลาย โคนแกนอับเรณูมักมีรยางค์สั้น ๆ

                  เอกสารอ้างอิง                                      รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ มีผนังกั้น 8 หรือ 10 อัน แนบติดฐานดอกเกินกึ่งหนึ่ง มี 4-5 ช่อง
                   Exell, A.W. (1954). Combretaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 577.  ปลายรังไข่มักมีขนแข็ง พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย
                   Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai   โค้งงอ ยาวกว่าเกสรเพศผู้ ผลแห้งแตกที่ปลายเป็น 4-5 ช่อง เมล็ดจ�านวนมาก
                      Forest Bulletin (Botany) 15: 67-69.            ขนาดเล็ก รูปก้นหอย

                478






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   478                                                                 3/1/16   6:34 PM
   493   494   495   496   497   498   499   500   501   502   503