Page 500 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 500

เอื้องกระดุมลาย
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                       พบที่อินเดีย ภูฏาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทาง
                                                                     ภาคตะวันออกที่เขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ที่
                                                                     ระนอง กระบี่ ขึ้นตามคบไม้ในป่าดิบชื้นและป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร

                                                                       สกุล Porpax Lindl. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroideae มีประมาณ 12 ชนิด
                                                                       พบในเอเชีย ในไทยมี 8 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “porpakos” หมายถึง
                                                                       ที่จับโล่ ตามลักษณะดอกที่ออกจากลำาลูกกล้วยรูปกลมแป้นคล้ายโล่
                  เอนอ้าขายาว: เส้นโคนใบข้างละ 3 เส้น ก้านใบยาว ช่อดอกแบบกระจุกแยกแขนง ฐานดอกมีขนประปราย
                มีติ่งนูนเล็ก ๆ หรือเกลี้ยง ปลายรังไข่มีขนแข็งหนาแน่น ผลรูประฆัง (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - SSa)   เอกสารอ้างอิง
                                                                       Seidenfaden, G. (1977). Contributions to the orchid flora of Thailand 8. Botanisk
                                                                          Tidsskrift 72(1): 1-14.












                  เอนอ้าน้อย: ล�าต้นเกลี้ยง ใบรูปแถบ ดอกออกเป็นกระจุก มี 1-3 ดอก กลีบดอก 4 กลีบ ฐานดอกเกลี้ยง กลีบเลี้ยง
                รูปสามเหลี่ยม ปลายแหลมยาว เกสรเพศผู้ 8 อัน (ภาพ: หนองคาย - RP)





                                                                      เอื้องกระดุมลาย: ล�าลูกกล้วยออกหนาแน่น กาบหุ้มมีเส้นใยนูนตามยาว ช่อดอก ออกจากปลายล�าลูกกล้วย มีดอกเดียว
                                                                     กลีบเลี้ยงเชื่อมติดเกือบตลอดความยาว ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
                                                                     เอื้องกลีบเกลียว
                  เอนอ้าน�้า: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ กลีบดอก 5 กลีบ ฐานดอกมีติ่งขนเป็นแผ่น เกสรเพศผู้มี 10 อัน   Cephalantheropsis longipes (Hook. f.) Ormerod
                (ภาพ: วัดจันทร์ เชียงใหม่ - RP)
                                                                     วงศ์ Orchidaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Calanthe longipes Hook. f.
                                                                       กล้วยไม้ดิน ล�าต้นกลมมีข้อจ�านวนมาก สูง 30-50 ซม. ใบพับจีบ เรียงห่าง ๆ
                                                                     รูปใบหอก ยาว 7.5-20 ซม. ก้านใบเป็นกาบยาว 4-6 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                                                                     มี 2-3 ช่อ ออกที่ปลายยอด ยาว 10-20 ซม. มี 10-15 ดอก เรียงห่าง ๆ ใบประดับ
                                                                     รูปใบหอก ยาว 1.5-1.7 ซม. ปลายแหลมยาว ร่วงเร็ว ดอกสีเหลืองหรืออมส้ม
                                                                     ด้านนอกมีขนประปราย กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาวเท่า ๆ กัน ยาว
                                                                     0.6-1 ซม. กลีบดอกคล้ายกลีบเลี้ยง มี 3 กลีบ ยาว 5-9 มม. ก้านกลีบแผ่กว้าง
                                                                     กลีบปากกว้างประมาณ 7.5 มม. ยาวประมาณ 8.5 มม. จัก 3 พู พูกลางมีสันนูน
                                                                     2 สัน พูข้างแผ่แบน ปลายตัด ขอบจักไม่เป็นระเบียบ เส้าเกสรสั้น รูปกลม โคนบวม
                                                                     ด้านหลังมีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกและรังไข่ยาว 1.8-2.3 ซม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น
                                                                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู สุมาตรา
                                                                     และฟิลิปปินส์ ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือที่พิษณุโลก และภาคใต้ที่
                  เอนอ้าหิน: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอก 5 กลีบ ฐานดอกมีขนยาวหนาแน่น เกสรเพศผู้มี 10 อัน   นครศรีธรรมราช ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
                ก้านชูอับเรณูยาวไม่เท่ากัน (ภาพ: ภูพาน สกลนคร - PI)
                                                                       สกุล Cephalantheropsis Guillaumin อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroideae เผ่า
                เอื้องกระดุมลาย                                        Collabieae มี 5 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ C. obcordata
                Porpax elwesii (Rchb. f.) Rolfe                        (Lindl.) Ormerod. กลีบเลี้ยงแคบกว่า พูข้างกลีบปากรูปเคียว ชื่อสกุลหมายถึง
                วงศ์ Orchidaceae                                       คล้ายกับสกุล Cephalanthera ซึ่งเป็นกล้วยไม้กินซากอาศัยเชื้อรา
                  ชื่อพ้อง Eria elwesii Rchb. f.                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Kurzweil, H. (2014). Orchidaceae (Cephalantheropsis). In Flora of Thailand Vol.
                   กล้วยไม้ขนาดเล็ก อิงอาศัยหรือขึ้นบนพื้นดิน ล�าลูกกล้วยออกหนาแน่น รูป  12(2): 378-382.
                กลมแป้น เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 0.5-1 ซม. กาบหุ้มล�าลูกกล้วยมีเส้นใยนูนตามยาว
                ใบรูปรีแคบ ยาวได้ถึง 2.5 ซม. ก้านใบสั้น ผลิใบหลังออกดอก มี 2 ใบ ช่อดอก
                มีดอกเดียว ออกจากปลายล�าลูกกล้วย ใบประดับรูปรี ปลายแหลม ติดที่โคนดอก
                หุ้มรังไข่ ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของหลอดกลีบเลี้ยง ดอกสีน�้าตาลแดง กลีบเลี้ยง
                เชื่อมติดเกือบตลอดความยาว ยาวประมาณ 1.2 ซม. ปลายแฉกยาวประมาณ
                1 มม. มีติ่งแหลม กลีบดอกขนาดเล็กอยู่ภายในหลอดกลีบเลี้ยง กลีบรูปใบพาย
                ยาว 4.5-5.5 มม. ขอบเรียบหรือจักไม่เป็นระเบียบ เกลี้ยง กลีบปากสั้น ปลายจัก
                ตื้น ๆ 3 พู ไม่ชัดเจน เส้าเกสรสั้น คางยาวกว่าเส้าเกสรประมาณ 2 เท่า โคนมี
                สันนูน กลุ่มเรณู 8 กลุ่ม แยกเป็น 2 กลุ่มย่อย มีแป้นเหนียวเชื่อม ก้านดอกและ
                รังไข่สั้นกว่าใบประดับ มีขนสั้นนุ่ม
                                                                      เอื้องกลีบเกลียว: ล�าต้นกลม ใบพับจีบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบดอกคล้ายกลีบเลี้ยง (ภาพ: เขานัน นครศรีธรรมราช - NT)

                480






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   480                                                                 3/1/16   6:35 PM
   495   496   497   498   499   500   501   502   503   504   505