Page 499 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 499
สกุล Osbeckia มีประมาณ 50 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย และ เอนอ้าน้ำา สารานุกรมพืชในประเทศไทย เอนอ้าหิน
ออสเตรเลีย ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Pehr Osbeckia nepalensis Hook. f.
Osbeck (1723-1805)
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. ใบรูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 8-15 ซม. ปลายแหลม โคนกลม
เอนอ้าขน เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น แผ่นใบมีขนแข็งเอนด้านบน ด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบ
Osbeckia stellata Buch.-Ham. ex Ker Gawl. สั้นมาก ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ มีได้ถึง 10 ดอก กลีบดอกและ
กลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ ฐานดอกยาว 0.6-1 ซม. มีติ่งขนเป็นแผ่น
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ใบรูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปใบหอก ยาว 9-11 ซม. ปลายแหลม ยาวได้ถึง 5 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 6-8 ซม. ร่วงเร็ว กลีบดอกยาว
โคนกลม เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น แผ่นใบมีขนแข็งทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 3-5 มม. 1-2 ซม. เกสรเพศผู้มี 10 อัน อับเรณูยาว 6-9 มม. ปลายมีจะงอยสั้น ๆ รังไข่
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ยาวกว่าฐานดอก ปลายมีขนแข็ง ผลรูปคนโท ยาวได้ถึง 1 ซม.
ฐานดอกยาว 1.4-1.8 ซม. มีติ่งขนหนาแน่นหรือประปราย ยาว 2-4 มม. กลีบเลี้ยง พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู
รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-5 มม. กลีบดอกยาว 1.6-2.8 ซม. เกสรเพศผู้ 8 อัน อับเรณู ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ยาว 1-1.5 ซม. ปลายเป็นจะงอยรูปตัวเอส รังไข่สั้นกว่าฐานดอก ผลรูปคนโท ยาว ภาคใต้ ขึ้นตามที่โล่งบนลานหิน หรือที่ชื้นแฉะ ความสูง 300-1400 เมตร น�้าคั้นจากใบ
1.4-2 ซม.
ใช้ทาแผลสด แยกเป็น var. albiflora Lindl. ดอกสีขาว พบที่จีน และเนปาล
พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ ไต้หวัน และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบ
ทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ทุ่งหญ้า หรือสันเขา ที่ค่อนข้างชื้นแฉะ ความสูงถึงประมาณ เอนอ้าหิน
2000 เมตร ใบใช้พอกแก้พิษงู
Osbeckia thorelii Guillaumin
เอนอ้าขนแข็ง ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1 ม. ใบรูปขอบขนาน ยาว 2-4 ซม. เกือบไร้ก้าน ปลายแหลม
Osbeckia setoso-annulata Geddes หรือมน โคนแหลมหรือกลม เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น แผ่นใบมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอก
แบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ ฐานดอก
ไม้ล้มลุก สูง 20-70 ซม. ล�าต้นบางครั้งเกลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-6 ซม. ยาว 5-6 มม. มีขนยาวหนาแน่น กลีบเลี้ยงรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม ยาว 5-7 มม.
ปลายและโคนแหลม เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปราย กลีบดอกยาว 2-2.5 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูอับเรณูยาวไม่เท่ากัน อับเรณู
ก้านใบยาว 2-3 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก มีได้ถึง 10 ดอก กลีบดอกและกลีบเลี้ยง ยาวเท่า ๆ กัน ยาวประมาณ 8 มม. ปลายมีจะงอย รังไข่สั้นกว่าฐานดอก มีขน
จ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ฐานดอกยาวประมาณ 5 มม. มีติ่งขนเรียง 3-4 วง กลีบเลี้ยง หนาแน่น ผลรูปคนโท ยาวประมาณ 9 มม.
รูปไข่ ยาว 4-6 มม. กลีบดอกยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้ 8 อัน อับเรณูยาว 3-4 มม. พบในภูมิภาคอินโดจีน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของไทย
ปลายเป็นจะงอยสั้น ๆ รังไข่สั้นกว่าฐานดอก ปลายมีขนแข็งตามแนวประสาน ผลรูป ขึ้นตามที่โล่งบนลานหินทราย ในป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
คนโท ยาว 7-8 มม.
พบที่พม่า และลาว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือตอนล่างที่ตาก และ เอกสารอ้างอิง
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 200-300 เมตร Chen, J. and S.S. Renner. (2007). Melastomataceae. In Flora of China Vol. 13:
361-363.
Hansen, C. (1977). Contributions to the flora of Asia and the Pacific region: the
Asiatic species of Osbeckia (Melastomataceae). Ginkgoana 4: 1-150.
เอนอ้าขายาว Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
Osbeckia aspericaulis Hook. f. ex Triana In Flora of Thailand Vol. 7(3): 450-455.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. ใบรูปไข่ ยาว 18-20 ซม. ปลายแหลมยาว โคนแหลมหรือ
เว้าตื้น เส้นโคนใบข้างละ 3 เส้น แผ่นใบมีขนแข็งทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-4 ซม.
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ
ฐานดอกยาว 8-9 มม. มีขนประปราย มีติ่งนูนเล็ก ๆ หรือเกลี้ยง ระหว่างกลีบเลี้ยง
มีขนเป็นกระจุก กลีบเลี้ยงยาว 8-9 มม. ปลายแหลม ร่วงเร็ว กลีบดอกยาว 2-2.2 ซม.
เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีจะงอยสั้น ๆ ด้านบนมี
เดือย 2 อันสั้น ๆ รังไข่ยาวเท่า ๆ ฐานดอก ปลายมีขนแข็งหนาแน่น ผลรูประฆัง
ยาวประมาณ 1 ซม.
พบที่บังกลาเทศ และพม่า ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ที่หนองคาย และบึงกาฬ ขึ้นตามที่โล่ง ทุ่งหญ้า ความสูงประมาณ 200 เมตร
เอนอ้าน้อย
Osbeckia chinensis L.
เอนอ้าขน: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอก 4 กลีบ ฐานดอกมีติ่งขนหนาแน่นหรือประปราย เกสรเพศผู้
ไม้ล้มลุก อาจสูงได้ถึง 1.5 ม. ล�าต้นส่วนมากเกลี้ยง ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก 8 อัน ปลายอับเรณูเป็นจะงอยรูปตัวเอส ผลรูปคนโท (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP; ภาพซ้ายล่าง:
หรือรูปแถบ ยาว 3-7 ซม. ก้านใบสั้น ปลายแหลม โคนกลม เส้นโคนใบข้างละ ภูหินร่องกล้า พิษณุโลก - PK)
1-3 เส้น แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มหนาแน่นทั้งสองด้าน ดอกออกเป็นกระจุก มี 1-3 ดอก
หรืออาจมีได้ถึง 10 ดอก กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ฐานดอก
ยาว 3-7 มม. เกลี้ยงหรือมีขนประปราย หรือมีขนแข็งระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบเลี้ยง
รูปสามเหลี่ยม ปลายแหลมยาว ยาว 6-7 มม. กลีบดอกยาว 1.2-1.7 ซม. เกสรเพศผู้
8 อัน อับเรณูยาว 4-7 มม. ปลายมีจะงอยสั้น ๆ รังไข่ยาวเท่า ๆ หรือสั้นกว่าฐานดอก
ปลายมีขนแข็ง ผลรูประฆังหรือรูปคนโท ยาว 3-8 มม.
พบที่จีนตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี และออสเตรเลีย ในไทยพบ
ทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ทุ่งหญ้า ที่ราบหรือสันเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
มีความผันแปรสูง ใน Flora of China แยกเป็น var. angustifolia (D. Don) C. Y.
Wu & C. Chen ฐานดอกมีขนแข็งหนาแน่นกว่า รากเคี้ยวแก้ปวดฟัน ท้องเสีย เอนอ้าขนแข็ง: ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบดอก 4 กลีบ ฐานดอกมีติ่งขนเรียง 3-4 วง เกสรเพศผู้ 8 อัน ผลรูปคนโท
และรักษาแผลในสัตว์เลี้ยง (ภาพ: ท่าสองยาง ตาก - RP)
479
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 479 3/1/16 6:34 PM