Page 494 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 494
ไหมจุรี
ไหมจุรี สารานุกรมพืชในประเทศไทย พืชถิ่นเดียวของรัฐควีนส์แลนด์ในออสเตรเลีย ขึ้นตามที่แห้งแล้ง และป่าชายหาด
Ceiba speciosa (A. St.-Hil.) Ravenna ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร ปลูกเป็นไม้ประดับหรือท�าเป็นไม้แคระ แต่ยัง
วงศ์ Malvaceae ไม่แพร่หลายนักในประเทศไทย
ชื่อพ้อง Chorisia speciosa A. St.-Hil.
อรพิม, สกุล
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 20 ม. ล�าต้นและกิ่งมีหนามหนา ใบประกอบรูปฝ่ามือ Lysiphyllum (Benth.) de Wit
เรียงเวียน มีใบย่อย 5-7 ใบ รูปใบหอก ยาว 10-12 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ
ขอบจักฟันเลื่อย ใบประดับร่วงเร็ว ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบก่อนผลิใบ วงศ์ Fabaceae
ก้านดอกหนา ยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง หนา แยก 3-5 แฉก ติดทน ด้านใน ไม้เถา ไม้พุ่มรอเลื้อย หรือไม้ต้น ส่วนมากมีมือจับ ใบประกอบส่วนมากมีใบเดียว
มีขนหนาแน่น ดอกสีชมพู โคนสีครีมอมเหลือง มี 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกันแนบ ส่วนใหญ่แฉกลึกหรือแยกจรดโคนดูคล้ายมี 2 ใบย่อย ช่อดอกแบบช่อกระจะ
ติดเส้าเกสรเพศผู้ กลีบรูปใบพาย กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. ด้านนอกมีขน ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ตาดอกรูปกระสวย กลีบเลี้ยงแยก
คล้ายไหม ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสร เกลี้ยง หุ้มเกสรเพศเมีย บางครั้ง 5 แฉกตื้น ๆ หรือแฉกลึก กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 10 อัน รังไข่มีก้าน
ปลายเส้าเกสรแยกเป็นก้านชูอับเรณูสั้น ๆ อับเรณู 5-15 อัน บิดงอ รังไข่มี 5 ช่อง ผลเป็นฝัก แบน เมล็ดมีขั้ว
เชื่อมติดกัน พลาเซนตารอบแกนร่วม ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว
ยอดเกสรจักเป็นพู สีขาวหรือชมพู ผลแห้งแตก รูปไข่กว้าง ยาว 12-18 ซม. สกุล Lysiphyllum อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Cercideae เคยอยู่
ผนังด้านในมีขนคล้ายไหม เมล็ดจ�านวนมาก มีใยนุ่นหนาแน่น ภายใต้สกุล Bauhinia sect. Lysiphyllum มี 8 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และ
ออสเตรเลีย ในไทยมีพืชพื้นเมือง 2-3 ชนิด คือ อรพิม และขยัน L. strychnifolium
มีถิ่นก�าเนิดในบราซิล อาร์เจนตินา ปารากวัย เปรู และโบลิเวีย เป็นไม้ประดับ (Craib) A. Schmitz ส่วน L. binatum (Blanco) de Wit บางข้อมูลถูกจัดให้อยู่ใน
ทั่วไปในเขตร้อน สกุล Bauhinia และพบเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ อรพัน L. hookeri (F. Muell.)
Pedley อนึ่ง ขยัน มีเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 3 อัน เป็นหมัน 7 อัน และใบไม่แยกเป็น
สกุล Ceiba Mill. มีประมาณ 17 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกาเขตร้อน พบใน แฉก แต่ถูกย้ายมาในสกุลนี้ตามลักษณะของเรณู ซึ่งการจัดจำาแนกจึงยังไม่ได้ข้อยุติ
แอฟริกาชนิดเดียว ในไทยยังมี นุ่น C. pentandra (L.) Gaertn. ที่นิยมปลูกเพื่อ
นำาเส้นใย (ปุยนุ่น) มาใช้ประโยชน์ มีถิ่นกำาเนิดในอเมริกาเขตร้อน และแอฟริกา อรพิม
ชื่อสกุลมาจากชื่อพื้นเมืองในอเมริกาใต้ที่เรียกพืชสกุลนี้
Lysiphyllum winitii (Craib) de Wit
เอกสารอ้างอิง ชื่อพ้อง Bauhinia winitii Craib
Gibbs, P. and J. Semir. (2003). A taxonomic revision of the genus Ceiba Mill.
(Bombacaceae). Anales del Jardín Botánico de Madrid 60(2): 271-273. ไม้เถาเนื้อแข็ง มีมือจับ กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาล ใบย่อยแฉกลึกจรดโคน
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum มีหูใบขนาดเล็ก 1 อัน ก้านใบประกอบยาวประมาณ 1 ซม. ใบย่อยรูปไข่ เบี้ยว
Press, Honolulu, Hawai`i. ปลายกลม ยาว 3-4.5 ซม. ด้านล่างมีนวล เส้นแขนงใบออกจากโคน 3-4 เส้น ไร้ก้าน
ช่อดอกยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านดอกหนา ยาว 4-8 มม. ตาดอกยาวประมาณ 3 ซม.
ฐานดอกยาว 4-6 ซม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาล มีริ้ว กลีบเลี้ยงยาวประมาณกึ่งหนึ่ง
ของฐานดอก แฉกลึกจรดโคน กลีบดอกรูปรีหรืิอรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 9 ซม.
รวมก้านกลีบ กลีบหน้ามีสีเหลืองอ่อนแซม กว้างกว่าเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูสีขาว
ยาวได้ถึง 7 ซม. อับเรณูสีน�้าตาล รังไข่รวมก้านยาวประมาณ 4 ซม. ก้านเกสรเพศเมีย
ยาวเท่า ๆ กับรังไข่ ยอดเกสรรูปโล่สีน�้าตาลเข้ม ฝักบาง รูปใบหอก บิดงอเล็กน้อย
ยาวได้ถึง 30 ซม. มี 6-10 เมล็ด แบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนล่างที่นครสวรรค์ ภาคกลางที่ลพบุรี
สระบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูนเตี้ย ๆ
ความสูงถึงประมาณ 100 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 21-22.
ไหมจุรี: ใบประกอบรูปฝ่ามือ มีใบย่อย 5-7 ใบ ดอกสีชมพู โคนสีครีมอมเหลือง แนบติดเส้าเกสรเพศผู้ ปลายเส้าเกสร Lewis, G.P. and F. Forest. (2005). Tribe Cercideae. In Legumes of the World.
บางครั้งแยกเป็นก้านชูอับเรณูสั้น ๆ (ภาพ: cultivated - RP) Royal Botanic Gardens, Kew.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
อรพัน Press, Honolulu, Hawai`i.
Lysiphyllum hookeri (F. Muell.) Pedley
ชื่อพ้อง Bauhinia hookeri F. Muell.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. แตกกิ่งต�่า เปลือกแตกเป็นร่องตามยาว ใบประกอบมี
2 ใบย่อย แยกกัน กางออกเล็กน้อยดูคล้ายรูปผีเสื้อ เรียงสลับระนาบเดียว
ระหว่างใบมีหูใบขนาดเล็ก 1 อัน ก้านใบประกอบยาว 1-1.5 ซม. ใบรูปรี เบี้ยว
ยาว 2-3 ซม. ปลายมน แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นแขนงใบออกจากโคน 3-5 เส้น
ไร้ก้าน ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง ตาดอกยาว 1-1.5 ซม. ก้านดอกสั้นกว่า
ฐานดอก ฐานดอกยาวกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย กลีบเลี้ยงหนา แฉกลึก รูปรี ยาว
1-1.5 ซม. ปลายมีติ่ง ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกสีขาว กลีบรูปรี ยาวได้ถึง 4 ซม.
รวมก้านกลีบ ก้านชูอับเรณูยาว 4-5.5 ซม. สีชมพูอมแดง โคนสีขาว อับเรณูสีแดง
รังไข่รวมก้านและก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรเพศเมีย
รูปโล่ สีเขียว ฝักรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 7-20 ซม. ขอบมีสันหนา ปลายมี
จะงอยยาว 1-3 ซม. ก้านผลยาว 5-7 ซม. รวมฐานดอกที่ขยาย มีได้ถึง 10 เมล็ด
รูปรี แบน ยาวประมาณ 1 ซม. อรพัน: ใบประกอบมี 2 ใบย่อย แยกกัน เรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง
ดอกขนาดใหญ่ มีก้านกลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูสีแดง ปลายฝักมีจะงอย (ภาพ: cultivated - RP)
474
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 474 3/1/16 6:33 PM