Page 492 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 492

แหนแดง
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                10-20 เส้น ก้านใบยาว 2.5-6.5 ซม. ช่อดอกยาว 3-10 ซม. ช่ออ่อนมีใบประดับหุ้ม
                มี 4-7 ดอก เรียงซิกแซ็กด้านเดียว ก้านดอกหนา ยาว 1-2 มม. หลอดกลีบเลี้ยง
                ยาวประมาณ 5 มม. กลีบยาว 2 กลีบ รูปใบหอก ยาว 1-2 ซม. กลีบสั้น 3 กลีบ
                รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-6 มม. ดอกสีขาวอมชมพู มีสีเข้มด้านใน กลีบรูปใบหอก ยาว
                4-6 ซม. ด้านนอกมีขนสั้น เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น โคน
                แผ่กว้าง อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. รยางค์รูปเส้นด้าย ยาวประมาณกึ่งหนึ่ง
                ของอับเรณู รังไข่มีขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลาง
                1.5-3.5 ซม. ปีกยาว 2 ปีก ยาว 8-15 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก รูปรีกว้าง ยาว 1.5-2 ซม.
                ขอบพับกลับ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ยาง, สกุล)
                                                                      แหนแดง: เฟินลอยในน�้า รากใต้น�้าจ�านวนมาก ล�าต้นเป็นไหลเล็ก ๆ แตกแขนงหนาแน่นคล้ายรูปสามเหลี่ยม
                   พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายูตอนบน ในไทยพบทุกภาค   ยาว 1-3 ซม. ใบเดี่ยวเรียงสลับ 2 แถว ซ้อนกันหนาแน่น (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                ขึ้นกระจายหรือเป็นกลุ่มหนาแน่นตามป่าเต็งรัง ป่าสน หรือป่าดิบแล้ง ความสูงถึง
                ประมาณ 1300 เมตร ทางภาคใต้มักพบกระจายใกล้ริมฝั่งทะเล ซึ่งส่วนต่าง ๆ   แห้วประดู่
                มักเกลี้ยง ส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั้งมีขนและเกลี้ยง ต้นที่เกลี้ยง  Eriosema chinense Vogel
                เคยแยกเป็น var. subnudus Ryan & Kerr
                                                                     วงศ์ Fabaceae
                  เอกสารอ้างอิง                                        ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. หัวใต้ดินอวบ มีขนยาวคล้ายไหมตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ
                   Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.   กลีบเลี้ยง และกลีบกลางด้านนอก หูใบรูปแถบ ยาว 4-8 มม. ติดทน ใบประกอบมี
                      Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 137-138.
                   Smitinand, T, J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du   ใบเดียว เรียงเวียน รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 1.5-7 ซม. ปลายแหลมหรือมน
                      Cambodge du Laos et du Vietnam 25: 26-30.      โคนกลมหรือเว้าตื้น เกือบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ ออกตามซอกใบ มี
                                                                     1-2 ดอก ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 3-5 มม. มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
                                                                     แคบ ๆ ดอกสีเหลือง ยาว 0.8-1 ซม. ด้านนอกสีอ่อนกว่า มีเส้นกลีบสีน�้าตาล
                                                                     กลีบกลางรูปไข่กลับ โคนมีติ่ง กลีบปีกและกลีบคู่ล่างรูปขอบขนาน สั้นกว่ากลีบกลาง
                                                                     โคนมีติ่งด้านเดียว เกสรเพศผู้เชื่อมติด 2 กลุ่ม อันหนึ่งแยกจรดโคน รังไข่มีขนหยาบ
                                                                     หนาแน่น ออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียโค้งเข้า ฝักรูปรีหรือรูปขอบขนาน เบี้ยว
                                                                     ยาวได้ถึง 1 ซม. มีขนหยาบหนาแน่น มี 2 เมล็ด สีด�า มีก้านสั้น ๆ ขั้วเมล็ดรูปเส้นด้าย
                                                                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย
                                                                     ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า และเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร รากกินสด
                                                                     บ�ารุงก�าลัง แก้ท้องเสีย เมล็ดต้มเอาน�้ามีสรรพคุณสมานแผล และขับปัสสาวะ

                                                                       สกุล Eriosema (DC.) Desv. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Papilionoideae เผ่า Phaseoleae
                                                                       มีประมาณ 130 ชนิด พบในเขตร้อน โดยเฉพาะแอฟริกา ในไทยมีชนิดเดียว
                                                                       ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “erion” ขนแบบขนแกะ และ “sema” กลีบกลาง ตาม
                                                                       ลักษณะกลีบกลางด้านนอกมีขนคล้ายขนแกะ
                  เหียง: ช่อดอกเกลี้ยงหรือมีขนยาว กลีบดอกบิดเวียน หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ ปีกสั้น ขอบพับกลับ (ภาพช่อดอกเกลี้ยง:
                ผาชนะได อุบลราชธานี - PK; ภาพช่อดอกมีขนยาว: แม่สะนาม เชียงใหม่ - RP; ภาพผล: ผาแต้ม อุบลราชธานี - MT)  เอกสารอ้างอิง
                                                                       Sa, R. and M.G. Gilbert. (2010). Fabaceae (Eriosema). In Flora of China Vol.
                แหนแดง                                                    10: 227.
                Azolla pinnata R. Br.
                วงศ์ Salviniaceae
                   เฟินลอยในน�้า รากใต้น�้าจ�านวนมาก ยาวได้ถึง 5 ซม. มีขนนุ่มหนาแน่น มีไหล
                แตกแขนงหนาแน่นรูปขนนกคล้ายรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-3 ซม. ใบเรียงสลับ 2 แถว
                ซ้อนกันหนาแน่น รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-2 มม. ไร้ก้าน แยกเป็น 2 พู พูบนอยู่
                เหนือน�้า พูล่างอยู่ใต้น�้า แผ่นใบสีม่วงอมชมพูหรืออมแดง ด้านบนมีปุ่มเล็ก ๆ
                หนาแน่น มีเยื่อเหนียวกึ่งใสตามขอบใบ สปอโรคาร์ปออกเป็นคู่ เกิดใกล้โคน
                ของพูที่อยู่ใต้น�้า แต่ละอันมีอับเมกะสปอร์ขนาดเล็กอันเดียวอยู่ด้านล่าง และ
                อับไมโครสปอร์ขนาดใหญ่กว่าอยู่ด้านบนจ�านวนมาก มีเยื่อคลุม   แห้วประดู่: ถิ่นที่อยู่ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน มีขนยาวคล้ายไหมตามล�าต้น หูใบ แผ่นใบ กลีบเลี้ยง และกลีบกลาง
                   พบทั่วไปในเขตร้อน มีความผันแปรสูง บางครั้งแยกเป็นหลายชนิดย่อย ในไทย  ด้านนอก ใบประกอบมีใบเดียว ช่อดอกมี 1-2 ดอก (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK)
                พบทุกภาค ขึ้นในหนองน�้า นาข้าว ที่โล่งแจ้ง ความสูงระดับต�่า ๆ ใช้เป็นพืชดูดสารพิษ   แหะ
                และปุ๋ยพืชสด มีสรรพคุณขับเหงื่อ และขับปัสสาวะ
                                                                     Cynometra craibii Gagnep.
                   สกุล Azolla Lam. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Azollaceae มีประมาณ 7 ชนิด พบในเขตร้อน  วงศ์ Fabaceae
                   และเขตอบอุ่น ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ A. caroliniana Willd. มีขนาดเล็กกว่า   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. ใบประกอบมีใบย่อย 1 คู่ ก้านใบยาว 5-7 มม.
                   ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “azos” หรือ “azo” แห้งหรือเผา และ “ollumi” หรือ   ใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน เบี้ยว โค้งงอ ยาว 4.5-6.5 ซม. ปลายแหลม
                   “olluo” ทำาลาย หมายถึงเป็นพืชที่แห้งตายจากความร้อนที่แผดเผา
                                                                     แหลมยาว หรือยาวคล้ายหาง โคนเบี้ยว ก้านใบย่อยสั้นมาก ช่อดอกออกสั้น ๆ
                  เอกสารอ้างอิง                                      ตามซอกใบ แกนกลางช่อยาวไม่เกิน 5 มม. ใบประดับรูปขอบขนาน ยาวประมาณ
                   Lin, Y., S. Lei, M. Funston and M.G. Gilbert. (2013). Salviniaceae. In Flora of   2 มม. ขอบมีขนครุย ใบประดับย่อยขนาดเล็ก เกลี้ยง ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม.
                      China Vol. 2-3: 125-126.                       กลีบเลี้ยงยาว 2-3 มม. กลีบดอกยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้มีประมาณ 10 อัน
                   Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                      Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/  ยาว 2-3 มม. รังไข่เกลี้ยง มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ฝักแบนคล้ายรูป
                   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Azollaceae. In Flora of Thailand Vol. 3(4):   สี่เหลี่ยมคางหมู ยาวประมาณ 5 ซม. ปลายเป็นจะงอยด้านข้าง ผิวเรียบ เปลือกบาง
                      605-606.                                       (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะคะ, สกุล)

                472






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   472                                                                 3/1/16   6:32 PM
   487   488   489   490   491   492   493   494   495   496   497