Page 488 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 488

เหง้าน�้าทิพย์
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     จักเป็นติ่งหนาม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ยอดหรือซอกใบ ใบประดับรูปไข่
                                                                     ยาว 7-8 มม. ใบประดับย่อยยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ โคนหนา
                                                                     กลีบคู่นอกยาว 1-1.3 ซม. กลีบคู่ในสั้นกว่าเล็กน้อย ดอกสีม่วงอ่อนหรือขาว
                                                                     รูปปากเปิด ยาว 3-4 ซม. หลอดกลีบหนา สั้น กลีบปากล่างยาวประมาณ 3 ซม.
                                                                     ปลายจัก 3 พู ตื้น ๆ มีขนสั้นนุ่มด้านนอก ด้านในมีแถบขนเป็นคู่ กลีบปากบนฝ่อ
                                                                     เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดบนปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูหนา ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                                                                     อับเรณูมีช่องเดียว รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 8 มม. มีขนเครา รังไข่มี 2 ช่อง
                                                                     แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาวเลยเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรแยก
                                                                     2 แฉก ผลแห้งแตก รูปรี เป็นมันวาว ยาว 2.5-3 ซม. มี 4 เมล็ด ติดบนต่อม
                                                                     (retinaculum) รูปคล้ายไต แบน
                                                                       พบที่อินเดีย พม่า กัมพูชา เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทาง
                                                                     ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าโกงกาง ใบแก้โรคไขข้ออักเสบ ทั้งต้น
                  หูหมีเขา: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ใบประกอบปลายคี่ ขอบใบจักมนหรือจักซี่ฟัน โคนเบี้ยว เกือบไร้ก้าน ผลแห้งแตก  ใช้รักษาโรคนิ่วในไต ใช้ในต�ารับยาสมุนไพรไทยหลายขนาน และมีความเชื่อว่าถ้า
                ตามรอยประสาน ยาว 2-6 มม. เปลือกสีแดง (ภาพ: ฮาลา-บาลา ยะลา - RP)   เคี้ยวใบแล้วจะป้องกันงูกัดได้ในป่าโกงกาง
                เหง้าน้ำาทิพย์                                         สกุล Acanthus L. มีประมาณ 30 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และประเทศใน
                Agapetes saxicola Craib                                แถบเมดิเตอร์เรเนียน ในไทยมีพืชพื้นเมือง 3-4 ชนิด ซึ่ง A. ebracteatus Vahl
                วงศ์ Ericaceae                                         คล้ายกับ A. ilicifolius L. แต่ไม่มีใบประดับย่อย ซึ่งอาจมีขนาดเล็กและร่วงเร็ว
                                                                       ส่วน A. leucostachyus Wall. ex Nees ใบประดับขอบแหลมคล้ายหนาม และ
                   ไม้พุ่ม อิงอาศัย สูงได้ถึง 1 ม. มีรากสะสมอาหารขนาดใหญ่ มีขนต่อมหนาแน่น  A. volubilis Wall. เป็นไม้เถา นอกจากนี้ ยังพบที่นำาเข้ามาปลูกเป็นไม้ประดับ
                ตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก และกลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียน  คือ เหงือกปลาหมอเทศ A. montanus (Nees) T. Anderson มีถิ่นกำาเนิดใน
                หรือเรียงเกือบตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ยาว 1-4 ซม. ปลายและโคนมน  แอฟริกาตะวันตก ใบประดับขอบจักเป็นหนามแหลม ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                หรือแหลม ขอบม้วน เส้นใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น   “akanthos” พืชมีหนาม
                ออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาว 2-4 ซม. มี 3-7 ดอก ในแต่ละช่อ ใบประดับ
                รูปใบหอก ยาว 4-8 มม. ก้านดอกยาวได้ถึง 1.5 ซม. ใบประดับย่อย 2 ใบ ติดที่โคนก้าน   เอกสารอ้างอิง
                ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ฐานดอกรูปถ้วย ยาวประมาณ 2 มม. แยก 5 แฉก รูปสามเหลี่ยม  Barker, R.M. (1986). A taxonomic revision of Australian Acanthaceae. Journal
                                                                          of the Adelaide Botanic Gardens 9: 64-75.
                ขนาดเล็ก ดอกสีขาวอมชมพู รูประฆัง ยาว 0.7-1.5 ซม. ปลายบานออกแยกเป็น   Hu, J.Q. and T.F. Daniel. (2011). Acanthaceae (Acanthus). In Flora of China
                5 แฉก เรียวแคบ ยาว 6-7 มม. ปลายม้วนออก เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูติดกัน  Vol. 19: 379.
                ล้อมรอบเกสรเพศเมีย ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 มม. อับเรณูยาวได้ถึง 7 มม.   Ng, P.K.L. and N. Sivasothi (eds.). (2001). Guide to the Mangroves of Singapore
                ด้านหลังมีเดือย 2 อัน ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.2-1.4 ซม. ผลสดมีหลายเมล็ด   1: The ecosystem and plant diversity. Singapore: Singapore Science Centre.
                เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม. สุกสีด�า (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ประทัดดอย, สกุล)
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตาม
                คบไม้หรือก้อนหิน ในป่าดิบเขา ความสูง 1200-1500 เมตร
                  เอกสารอ้างอิง
                   Craib, W.G. (1935). Contributions to the Flora of Siam. Bulletin of Miscellaneous
                      Information Kew 1935: 334-335.
                   Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 110-111.









                                                                      เหงือกปลาหมอ: A. ilicifolius ขอบใบเรียบหรือจักเป็นติ่งหนาม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด มีใบประดับย่อย
                                                                     ดอกรูปปากเปิด กลีบปากล่างปลายจัก 3 พู ตื้น ๆ ผลเป็นมันวาว (ภาพซ้าย: ระนอง - RP; ภาพขวา: จันทบุรี - PK)








                  เหง้าน�้าทิพย์: ไม้พุ่ม อิงอาศัย มีรากสะสมอาหารขนาดใหญ่ มีขนต่อมหนาแน่น ดอกสีขาวอมชมพู รูประฆัง
                ปลายกลีบม้วนออก ผลสุกสีด�า (ภาพ: ภูหลวง เลย - SSi)
                เหงือกปลาหมอ
                Acanthus ilicifolius L.
                วงศ์ Acanthaceae
                   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. ล�าต้นหนา หูใบเป็นหนามแข็ง ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน
                หรือรูปใบหอก ยาว 6-14 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งหนาม แผ่นใบหนา ขอบเรียบหรือ  เหงือกปลาหมอ: A. ebracteatus ดอกสีขาว ไม่มีใบประดับย่อย (ภาพซ้าย: cultivated - RP); เหงือกปลาหมอเทศ:
                                                                     ใบประดับขอบจักเป็นหนามแหลม (ภาพขวา: cultivated - RP)

                468






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   468                                                                 3/1/16   6:31 PM
   483   484   485   486   487   488   489   490   491   492   493