Page 485 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 485
3-5 เส้น ก้านใบยาว 3-11 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 4 ซม. ขยายในผล สารานุกรมพืชในประเทศไทย หูเสือน�้าตก
ดอกสีเขียวอมเหลือง ก้านดอกสั้น ใบประดับ 1 ใบ ใบประดับย่อย 2 ใบ รูปรี ยาว
1-4 มม. ติดทน ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก ดอกเพศผู้อยู่ปลายช่อ กลีบเลี้ยง
3 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณ 2 มม. กลีบรูปไข่ ปลายมน ยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้
3 อัน ยาวประมาณ 1.3 มม. ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูรูปสามเหลี่ยมกว้าง แกนหนา
ปลายโค้งลง ดอกเพศเมียมี 1-2 ดอก กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน
ยาว 3.5-9 มม. ขยายในผล ยาว 1.2-1.8 ซม. มีขนคันหนาแน่น รังไข่มี 3 ช่อง
ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันรูปกรวยคว�่า ปลายจัก 3 พู กว้างและยาวประมาณ
4 มม. ผลแห้งแตก จัก 3 พู รูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. มีขนแสบคัน แต่ละพูมี
เมล็ดเดียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 มม. มีปื้นสีีครีมหรือน�้าตาล หุน: ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแน่น ก้านช่อหนา ใบประดับหนา ย่น มีขนสั้นหนานุ่ม ดอกรูประฆัง แฉกลึก พับงอกลับ
เกสรเพศผู้และเพศเมียยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: ภูพาน สกลนคร - PT)
พบที่พม่า และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้
และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น หรือบนเขาหินปูน ความสูง หูเสือ, สกุล
100-1400 เมตร Plectranthus L’Hér.
สกุล Megistostigma Hook. f. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Acalyphoideae เผ่า Plukenetieae วงศ์ Lamiaceae
มี 5 ชนิด พบในภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจาก ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มเตี้ย ล�าต้นมักเป็นสี่เหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม ขอบจักฟันเลื่อย
ภาษากรีก “megistos” ใหญ่ และ “stigma” ตามลักษณะยอดเกสรเพศเมีย หรือจักมน ช่อดอกออกเป็นกระจุกเป็นวงรอบแกนคล้ายช่อเชิงลด ใบประดับร่วงเร็ว
หรือติดทน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปปากเปิด กลีบบน 1 กลีบ กลีบล่าง 4 กลีบ
เอกสารอ้างอิง หลอดกลีบดอกมักโค้งงอ เกสรเพศผู้อันสั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ติดใกล้หรือใต้โคน
Phuphathanaphong, L. (2007). Euphorbiaceae (Megistostigma). In Flora of
Thailand Vol. 8(2): 442-444. กลีบปากล่าง จานฐานดอกสด รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียโค้งลง ยอดเกสรจัก
2 พู เป็นตุ่ม ผลย่อยเปลือกแข็งเมล็ดล่อน
สกุล Plectranthus อยู่ภายใต้เผ่า Ocimeae มีประมาณ 350 ชนิด ในไทยเป็น
พืชพื้นเมือง 8 ชนิด เป็นไม้ประดับและผักสวนครัว 3 ชนิด ได้แก่ เนียมหูเสือ
P. amboinicus (Lour.) Spreng. มันหนู P. rotundifolius (Poir.) Spreng. และ
ฤๅษีผสมแล้ว P. scutellarioides (L.) R. Br. หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “plektron” เดือยไก่ และ “anthos” ดอก ตามลักษณะ
หลอดกลีบดอก
หูเสือกาบใหญ่
Plectranthus bracteatus (Dunn) Suddee
ชื่อพ้อง Coleus bracteatus Dunn
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 ม. ใบรูปไข่ ยาว 3-12 ซม. แผ่นใบมีขนประปราย มีหรือ
ไม่มีต่อมด้านล่าง โคนตัดหรือเว้าตื้น ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 25 ซม.
หานแตน: ไม้เถาล้มลุก ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง ใบประดับติดทน ดอกเพศผู้อยู่ปลายช่อ ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน
รูปกรวยคว�่า ผลแห้งแตก จัก 3 พู กลีบเลี้ยงติดทน มีขนแสบคัน (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - SSi) ช่อกระจุกเรียงรอบข้อ ห่างกัน 1-5 ซม. ช่อยาว 1-3 ซม. แต่ละช่อมีหลายดอก
ใบประดับรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 1 ซม. ร่วงเร็ว ขอบมีขน ก้านดอกยาว 1-2 มม.
หุน ขยายในผลยาว 3-4 มม. ดอกมีขนและต่อมกระจาย หลอดกลีบเลี้ยงยาว 2-3 มม.
Argyreia osyrensis (Roth) Choisy กลีบบนรูปไข่ กลีบล่างรูปขอบขนาน ยาวเท่า ๆ กลีบบน ขยายในผลยาว 7-8 มม.
วงศ์ Convolvulaceae ดอกสีม่วง ยาวประมาณ 1 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 0.8-1.5 ซม. บิดงอ กลีบรูปไข่
ชื่อพ้อง Ipomoea osyrensis Roth แกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้สั้น ติดใต้โคนกลีบล่าง ผลรูปไข่ สีน�้าตาลด�า
ยาวประมาณ 1 มม.
ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเลื้อย มีขนสั้นหนานุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ
และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปไข่ หรือรูปไข่กว้างเกือบกลม ยาว 4-12 ซม. ปลายแหลม พบที่จีนตอนใต้ เวียดนาม และภาคเหนือของไทย ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูง
โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแน่น ก้านช่อดอกหนา 700-2000 เมตร
ยาว 2.5-6 ซม. ใบประดับรูปไข่กลับ หนา ย่น ปลายมน ยาว 0.8-1.2 ซม. ติดทน
ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงคู่นอกรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 1 ซม. 3 กลีบในรูปขอบขนาน หูเสือน้ำาตก
ยาว 5.5-9 มม. ดอกรูประฆัง สีชมพู หลอดกลีบดอกยาว ประมาณ 1.5 ซม. แฉกลึก Plectranthus helferi Hook. f.
5 กลีบ รูปไข่แคบ ยาว 4-8 มม. พับงอกลับ ปลายกลีบเว้าตื้น เส้นกลางกลีบมีขน ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. ใบรูปใบหอกหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 3-10 ซม. โคน
เกสรเพศผู้และเพศเมียยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก อับเรณูรูปขอบขนาน ยาว 2-4 มม. รูปลิ่มหรือสอบ แผ่นใบมีขนประปราย มีต่อมด้านล่าง ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม.
รังไข่เกลี้ยง มี 2 ช่อง ยอดเกสรเป็นกระจุกแน่น มี 2 พู ผลแบบผลสด เส้นผ่านศูนย์กลาง ช่อดอกยาวได้ถึง 20 ซม. แยกแขนง แกนช่อมีขนและต่อม ช่อกระจุกเรียงรอบข้อ
6-8 มม. กลีบเลี้ยงติดทน ด้านในสีแดง มี 1-2 เมล็ด เกลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง ห่างกัน 0.5-1 ซม. ไร้ก้าน แต่ละช่อมี 2-3 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาว 4-6 มม.
4-5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือพุงหมู, สกุล) ร่วงเร็ว มีขน ก้านดอกยาว 0.5-1 มม. ขยายในผลยาว 2-3 มม. ดอกมีขนและ
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและ ต่อมกระจาย หลอดกลีบเลี้ยงยาว 2-3 มม. กลีบบนและกลีบล่างคู่ข้างขอบจัก
มาเลเซีย ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ป่าเต็งรัง และป่าดิบเขา กลีบบนกลม กลีบล่างรูปใบหอก สั้นกว่ากลีบบน ขยายในผลยาว 7-8 มม. ดอกสีม่วง
ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร ยาวประมาณ 1 ซม. หลอดกลีบยาว 6-7 มม. กลีบบนขนาดเล็ก กลีบล่างรูปไข่กลับ
ยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ผลรูปรี สีด�า ยาวประมาณ 1 มม.
เอกสารอ้างอิง
Fang, R. and G. Staples. (1995). Covolvulaceae. In Flora of China Vol. 16: 320. พบในพม่า และภาคเหนือตอนล่างของไทยที่ตาก ขึ้นริมล�าธารที่เป็นหินปูน
Staples, G. and P. Traiperm. (2010). Convolvulaceae (Argyreia). In Flora of ความสูง 200-600 เมตร
Thailand Vol. 10(3): 359-361.
465
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 465 3/1/16 6:30 PM