Page 481 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 481
รูปทรงกระบอก ส่วนมากมีก้านดอกเทียม กลีบเลี้ยงติดทน กลีบดอกแยกจรดโคน หวายลิง สารานุกรมพืชในประเทศไทย ห่อข้าวสีดา
ร่วงเร็ว เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกกัน ติดตามขอบฐานดอก รังไข่ใต้วงกลีบ มี Flagellaria indica L.
2-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ส่วนมากยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลสด มีหนึ่ง วงศ์ Flagellariaceae
หรือหลายเมล็ด
ไม้เถาล้มลุก เหง้าเจริญด้านข้าง ล�าต้นเกลี้ยง แข็ง ยาวได้ถึง 20 ม. ใบเรียง
สกุล Syzygium อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Myrtoideae มีประมาณ 1000 ชนิด พบใน สลับระนาบเดียว รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 50 ซม. ปลายม้วนเป็นมือเกาะ
แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ลักษณะสำาคัญในการจำาแนกชนิดคือ ฐานดอก ม้วนงอ โคนกลมหรือเว้าตื้น มีก้านใบเทียม ยาว 3-8 มม. โคนเป็นกาบรูปหลอด
ก้านดอกเทียม และเส้นขอบในของแผ่นใบ ในไทยมีประมาณ 85 ชนิด ชื่อสกุล ยาว 1-7 ซม. มีริ้วตามยาว ช่อดอกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม.
มาจากภาษากรีก “syzygos” เป็นคู่ หรือเชื่อมติดกัน ตามลักษณะที่ใบเรียงตรงข้าม ใบประดับรูปรีกว้าง สั้น ดอกไร้ก้าน กลีบรวมสีขาว มี 6 กลีบ เรียง 2 วง กลีบรูปไข่
บาง กลีบวงในใหญ่กว่าวงนอกเล็กน้อย ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน เรียง 2 วง
หว้า ยาวกว่ากลีบดอก อับเรณูติดที่ฐาน แตกตามยาว โคนรูปเงี่ยงลูกศร รังไข่มี 3 ช่อง
Syzygium cumini (L.) Skeels เรียวแคบ แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียสั้น
ยอดเกสรแยก 3 แฉก รูปกระบองแคบ ๆ ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง
ชื่อพ้อง Myrtus cumini L. 4-6 มม. ผนังชั้นนอกบาง ผลแก่สีแดงอมชมพู ส่วนมากมีเมล็ดเดียว
ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 8-13.5 ซม. ปลายแหลม มน หรือ พบในแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไห่หนาน ญี่ปุ่น พม่า กัมพูชา เวียดนาม
กลม โคนรูปลิ่มกว้าง แผ่นใบหนา มีเส้นขอบใน 1 เส้น เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ภูมิภาคมาเลเซีย นิวกินี ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยส่วนมาก
ก้านใบยาว 0.5-2.8 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านช่อสั้น พบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามที่ลุ่มที่ชุ่มชื้น หรือชายป่าโกงกาง
ดอกจ�านวนมาก ไร้ก้าน ก้านดอกเทียมยาว 1-2 มม. ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 2.5-5 มม. มีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ และเป็นยาคุมก�าเนิดในเพศหญิง
กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปกลม ๆ ขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ บาง รูปรีกว้างเกือบกลม
ยาว 1.4-2.8 มม. มีต่อม 5-19 ต่อม เกสรเพศผู้ยาว 3.8-6 มม. รังไข่มี 2 ช่อง สกุล Flagellaria L. เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มีประมาณ 4 ชนิด พบในแอฟริกา
ผลรูปรี ยาว 1-2 ซม. สุกสีด�า เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจาก
ภาษาละติน “flagellum” แส้ ตามลักษณะลำาต้น
พบที่อินเดีย ศรีลังกา เนปาล จีนตอนใต้ ไห่หนาน ภูมิภาคอินโดจีนและ
มาเลเซีย ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง เอกสารอ้างอิง
และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร ใบ ผล และเมล็ดมีสรรพคุณเป็น Backer, C.A. (1951). Flagellariaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 245-250.
ยาสมาน มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง Wu, G. and K. Larsen. (2000). Flagellariaceae. In Flora of China Vol. 24: 1.
หว้านา
Syzygium cinereum (Kurz) Chantar. & J. Parn.
ชื่อพ้อง Eugenia cinerea Kurz
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 7-15 ซม. ปลายมน กลม หรือ
แหลม โคนรูปลิ่ม แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบ 6-12 เส้น เรียงจรดกันเป็นเส้นขอบใน
ไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 4-8 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง
ยาวได้ถึง 8 ซม. ดอกไร้ก้าน ไม่มีก้านดอกเทียม ฐานดอกรูปกรวย ยาว 2-3.5 มม.
กลีบเลี้ยงขนาดเล็กมาก กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 2 มม. มีต่อม หวายลิง: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ปลายม้วนเป็นมือเกาะ โคนกลมหรือเว้าตื้น มีก้านใบเทียม ช่อดอกแยกแขนง
หนาแน่น เกสรเพศผู้ยาว 1.5-2.5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว ผลแก่สีแดงอมชมพู (ภาพดอก: ระนอง, ภาพผล: กระบี่; - RP)
ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6-1 ซม. ผลแก่สีแดง ห่อข้าวสีดา, สกุล
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค
ขึ้นตามชายป่า ที่โล่งริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร Platycerium Desv.
วงศ์ Polypodiaceae
เอกสารอ้างอิง เฟินอิงอาศัย เหง้าหนา มีรากและใบหุ้มหนาแน่น เกล็ดขนาดใหญ่ ใบมีสองแบบ
Chen, J. and L.A. Craven. (2007). Myrtaceae. In Flora of China Vol. 13: 321, 355.
Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol. ใบประกบต้นแนบติดที่เกาะอาศัย ติดทน บางครั้งแยกแขนง ใบแท้ออกเป็นคู่
7(4): 811-911. แยกหรือไม่แยกสองแฉก ตั้งขึ้นหรือห้อยลง กลุ่มอับสปอร์เรียงกระจายทั่วกาบ
มีขนกระจุกรูปดาวแทรกจ�านวนมาก แต่ละกลุ่มอับสปอร์มี 64 หรือ 8 สปอร์
สกุล Platycerium มี 15 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน และ
มี 1 ชนิดในอเมริกาใต้ ในไทยมี 4 ชนิด นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลมาจาก
ภาษากรีก “platys” กางออกกว้าง และ “keras” เขา ตามลักษณะของใบสร้างสปอร์
ห่อข้าวสีดา
Platycerium coronarium (J. Koenig ex O. F. Müll.) Desv.
หว้า: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ไร้ก้าน ฐานดอกรูปถ้วย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก (ภาพ: พิจิตร - MP)
ชื่อพ้อง Osmunda coronaria J. Koenig ex O. F. Müll.
เฟินอิงอาศัย เหง้าสั้น ปลายเหง้ามีเกล็ดสีน�้าตาลรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว
1.5-3.5 ซม. ใบไม่สร้างสปอร์ตั้งขึ้น รูปรี ยาว 40-100 ซม. ขอบจักเป็นพู แยก
2 แฉก ลึกประมาณ 20 ซม. แฉกย่อยกว้าง ยาวประมาณ 5 ซม. ปลายแฉกกลม
โคนใบมนกว้าง อวบน�้า เส้นแขนงใบแตกแขนง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห
ใบสร้างสปอร์ห้อยลง ยาว 50-200 ซม. แยก 2 แฉก หลายครั้งคล้ายกิ่ง โคนแฉก
ขนาดไม่เท่ากัน เส้นแขนงใบแยก 2 แฉก แผ่นกลุ่มอับสปอร์ออกเดี่ยว ๆ คล้ายรูป
หว้านา: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก ไร้ก้าน ไม่มีก้านดอกเทียม ผลแก่สีแดง หอยแครง กลมหรือเว้าคล้ายรูปหัวใจ กว้าง 4-16 ซม. ยาว 2-11 ซม. มีก้าน
(ภาพ: ศรีสงคราม นครพนม - MP) กลุ่มอับสปอร์ติดทั่วทั้งแผ่น มีขนกระจุก
461
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 461 3/1/16 6:29 PM