Page 484 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 484

หัวอ้ายเป็ด


                หัวอ้ายเป็ด         สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Cyathea contaminans (Wall. ex Hook.) Copel.
                วงศ์ Cyatheaceae
                  ชื่อพ้อง Alsophila contaminans Wall. ex Hook.
                   เฟินต้น สูงได้ถึง 10 ม. ปลายยอดมีเกล็ดสีน�้าตาล รูปแถบ ยาว 1.7-4 ซม.
                ล�าต้นมีรากเป็นเส้นแข็งหนาแน่น ใบประกอบ 2 ชั้น ก้านใบสีน�้าตาลเข้ม ยาว
                0.5-1 ม. โคนมีหนามสั้น ๆ และเกล็ดสีน�้าตาลรูปแถบ ยาว 3-4 ซม. ขอบมีขนแข็ง
                แผ่นใบกว้าง 1.5-1.7 ม. ยาว 2-3.5 ม. ใบย่อยชั้นที่หนึ่งรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
                มีข้างละ 8-13 ใบ เรียงสลับ ใบย่อยชั้นที่สองรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง   หางกะลิง: ใบประกอบชั้นเดียว หรือเป็นใบเดี่ยว เส้นใบแบบร่างแห เรียงจรดกัน 2-4 แถว ก้านใบย่อยสั้นมาก
                1.4-3 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนกึ่งตัด ขอบแฉกลึกจรดแกนใบย่อย   กลุ่มอับสปอร์เกิดเป็นแถวบริเวณขอบใบ (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                แฉกรูปขอบขนานถึงรูปเคียว ปลายมน ขอบจักมน ไม่มีก้านใบย่อย แผ่นใบบาง ด้านล่าง  หางแมงเงา
                มีนวล เส้นกลางใบเกลี้ยงถึงมีขนประปราย เส้นแขนงใบแบบขนนก กลุ่มอับสปอร์กลม
                ไม่มีเยื่อคลุม เรียงเป็นแถวสองข้างของเส้นกลางพู (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กูดต้น, สกุล)  Appendicula cornuta Blume
                   พบที่อินเดีย พม่า ลาว ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบหนาแน่น  วงศ์ Orchidaceae
                ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามสันเขา ไหล่เขา หรือใกล้ล�าธารใน   กล้วยไม้อิงอาศัย มีเหง้าสั้น ๆ แตกกอ สูง 15-50 ซม. ใบเรียงสลับระนาบเดียว
                ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ความสูง 800-1700 เมตร  ติดตลอดล�าต้น รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.5-1.2 ซม. ยาว 1.3-3.5 ซม.
                                                                     ปลายแหลมหรือเว้าตื้น มีติ่งยาว 1-1.5 มม. กาบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกแบบ
                  เอกสารอ้างอิง
                   Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and   ช่อกระจะ ออกที่ปลายยอดหรือใกล้ปลายยอด ช่อยาว 1-1.5 ซม. มี 2-6 ดอก
                      Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/   ใบประดับรูปใบหอก ยาว 4-5 มม. พับงอกลับ ดอกสีขาวแกมเขียว กลีบเลี้ยงบน
                   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Cyatheaceae. In Flora of Thailand Vol.   รูปไข่หรือรูปรี เว้า ยาว 3.5-4.5 มม. กลีบคู่ข้างรูปสามเหลี่ยม เบี้ยว ยาว 4-7 มม.
                      3(1): 106-107.                                 โคนเชื่อมติดเส้าเกสร คาง ยาว 1-4 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2.5-3.5 มม.
                                                                     ปลายมน กลีบปากรูปรี ยาว 3.5-6 มม. ด้านบนมีเนื้อเยื่อนูนรูปขอบขนาน โคนรูป
                                                                     คล้ายเรือ เส้าเกสรยาวประมาณ 2 มม. โคนยื่นเป็นคางยาว 2-2.5 มม. กลุ่มเรณู
                                                                     มีแป้นเหนียวสีส้ม ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 3-5 มม. ฝักรูปรี ยาว 5-6 มม.
                                                                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์
                                                                     ในไทยพบทุกภาค เกาะตามต้นไม้ในป่าดิบเขา ความสูง 1100-1300 เมตร

                                                                       สกุล Appendicula Blume อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroideae เผ่า Podochileae
                                                                       มีประมาณ 60 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและหมู่เกาะแปซิฟิก ส่วนมากพบใน
                                                                       ภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมีประมาณ 7 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน หมายถึง
                                                                       รยางค์ขนาดเล็กตามลักษณะของกลีบปากด้านบนมีเยื่อนูน โคนรูปคล้ายเรือ
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chen, X. and J.J. Wood. (2009). Orchidaceae (Appendicula). In Flora of China
                                                                          Vol. 25: 363-364.
                  หัวอ้ายเป็ด: แผ่นใบด้านล่างมีนวล กลุ่มอับสปอร์เรียงเป็นแถวสองข้างของเส้นกลางพู (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - TP)
                หางกะลิง
                Lindsaea ensifolia Sw.
                วงศ์ Lindsaeaceae
                   เฟินขึ้นบนพื้นดิน เหง้าทอดนอน ยาว 3-5 ม. ปลายยอดมีเกล็ดสีน�้าตาลหนาแน่น
                รูปแถบ ยาวประมาณ 2.5 มม. ใบประกอบชั้นเดียว หรือเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือ
                รูปขอบขนาน ก้านใบยาว 10-50 ซม. เปราะ ใบเดี่ยวส่วนมากรูปไข่ ปลายแหลมยาว
                ใบประกอบใบย่อยมี 2-7 คู่ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 20 ซม. กว้าง 0.5-2 ซม.
                ปลายแหลมยาวคล้ายหาง โคนรูปลิ่ม มน หรือกลม ขอบเรียบ เส้นใบแบบร่างแห
                เรียงจรดกัน 2-4 แถว ก้านใบย่อยสั้นมาก กลุ่มอับสปอร์เกิดเป็นแถวบริเวณขอบใบ
                มีเยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์
                   พบที่แอฟริกา อินเดีย เนปาล ศรีลังกา บังกลาเทศ จีนตอนใต้ ญี่ปุ่น พม่า
                ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย  หางแมงเงา: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ติดตลอดล�าต้น ปลายแหลมหรือเว้าตื้น มีติ่ง ใบประดับรูปใบหอก พับงอกลับ
                พบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร   ดอกสีขาวแกมเขียว (ภาพ: นครศรีธรรมราช - NT)
                                                                     หานแตน
                   สกุล Lindsaea Dryand. ex Sm. มีประมาณ 200 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน
                   ในไทยมี 19 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวจาเมกา John Lindsay   Megistostigma burmanicum (Kurz) Airy Shaw
                   (1785-1803)                                       วงศ์ Euphorbiaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Tragia burmanica Kurz
                  เอกสารอ้างอิง
                   Dong, S., S. Lin, M.J.M. Christenhusz and J. Barcelona. (2013). Lindsaeaceae.   ไม้เถาล้มลุก แยกเพศร่วมต้น มีขนสั้นประปรายตามล�าต้น แผ่นใบ ช่อดอก
                      In Flora of China Vol. 2-3: 143.               กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และก้านเกสรเพศเมีย หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวได้ถึง
                   Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                      Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/   8 มม. ติดทน ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง ยาว 7-19 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาว
                   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1985). Lindsaeaceae. In Flora of Thailand 3(2): 131.  คล้ายหาง โคนรูปหัวใจ แผ่นใบบาง เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ


                464






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   464                                                                 3/1/16   6:30 PM
   479   480   481   482   483   484   485   486   487   488   489