Page 487 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 487

เอกสารอ้างอิง  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หูหมีเขา
                                                                           Hou, D. (1984). Aristolochiaceae. In Flora Malesiana Vol. 10: 65-83.
                                                                           Phuphathanaphong, L. (1987). Aristolochiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 22-31.
                                                                           Yao, T.L. (2013). Nine new species of Thottea (Aristolochiaceae) in Peninsular
                                                                              Malaysia and Singapore, with two taxa in Peninsular Malaysia redefined
                                                                              and a taxon lectotypified. Blumea 58(3): 245-262.












                      หูหมี: E. ceylanicum (ภาพซ้าย: บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ์ - DM); หูหมี: E. carnosum (ภาพขวาบน:
                    น�้าตกพาเจริญ ตาก - RP); หูหมี: E. membranaceum (ภาพขวาล่าง: ธารโต ยะลา - RP)
                                                                          หูหมี: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามล�าต้นหรือซอกใบ ดอกสีชมพู เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงหลายวง ผลเรียวยาว
                    หูหมี, สกุล                                         (ภาพ: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi)
                    Thottea Rottb.
                    วงศ์ Aristolochiaceae
                       ไม้พุ่มเตี้ย ใบเรียงเวียน เส้นใบรูปฝ่ามือ 3-5 เส้น หรือแบบขนนก ช่อดอกแบบ
                    ช่อกระจะ ช่อกระจุก หรือช่อเชิงหลั่น ใบประดับติดตรงข้ามดอก ดอกรูประฆัง
                    หรือรูปคนโท กลีบรวมมี 3-4 กลีบ เรียงจรดกัน ปากหลอดกลีบหนาเป็นสัน
                    เกสรเพศผู้มีหลายอัน เรียงหนึ่งหรือหลายวง ก้านชูอับเรณูสั้นมากหรือไร้ก้าน
                    เชื่อมติดก้านเกสรเพศผู้เป็นเส้าเกสร อับเรณูหันออก รังไข่ใต้วงกลีบ มี 4 ช่อง
                    เชื่อมติดกัน ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจักเป็นพู ผลแห้งแตก
                    คล้ายผลผักกาดจรดโคน เมล็ดขนาดเล็ก มี 3 สัน มีรอยย่นตามขวางหรือมีตุ่ม

                       สกุล Thottea มีประมาณ 35 ชนิด พบที่อินเดีย ไห่หนาน พม่า เวียดนาม
                       ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยมี 4-5 ชนิด

                    หูหมี                                                 หูหมีขน: โคนใบรูปหัวใจ ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกใกล้โคนต้น ดอกสีน�้าตาลแดงหรืออมเหลือง รูปถ้วย
                    Thottea parviflora Ridl.                            เกสรเพศผู้ 6 อัน ผลเรียวยาวมีสันเป็นสี่เหลี่ยม (ภาพบน: ระนอง, ภาพล่าง: ตรัง; - RP)
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก   หูหมีเขา
                    ก้านดอก ใบประดับ และกลีบรวมด้านนอก ใบรูปไข่ รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน   Weinmannia fraxinea (D. Don) Miq.
                    ยาว 15-22 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่มถึงกลม ก้านใบยาว 5-8 มม.
                    ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามล�าต้นหรือซอกใบ ช่อยาว 2-3 ซม. ใบประดับ  วงศ์ Cunoniaceae
                    รูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 1.5-2 มม. ติดทน ก้านดอกยาว 0.2-1 ซม. ดอกสีชมพู   ชื่อพ้อง Pterophylla fraxinea D. Don, Weinmannia blumei Planch.
                    รูปถ้วย เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-7 มม. แยกเป็น 3 กลีบ แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ส่วนมากสูงไม่เกิน 10 ม. หรืออาจสูงได้ถึง 40 ม. หูใบติดระหว่าง
                    ไม่มีจานฐานดอก เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงหลายวง อับเรณูยาวไม่ถึง 1 มม.   ก้านใบ รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.8 ซม. ร่วงเร็ว ใบประกอบปลายคี่
                    ปลายมีรยางค์ มีขนคล้ายตะขอ เส้าเกสรยาวประมาณ 2.5 มม. ยอดเกสรเพศเมีย  เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบย่อยมี 3-6 คู่ รูปใบหอก ยาว 2.5-12 ซม. ปลายแหลม
                    จัก 4-8 พู รูปทรงกระบอก ผลเรียว ยาว 4-7 ซม. โคนเรียวแคบ มีสันเป็น 4 เหลี่ยม   หรือแหลมยาว โคนเบี้ยว ขอบจักมนหรือจักซี่ฟัน เกือบไร้ก้าน ใบปลายรูปไข่แคบ
                       พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยตั้งแต่ระนองลงไป ขึ้นตามป่าดิบชื้น   สั้นกว่าใบข้าง ก้านยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ
                    ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร                           ออกเป็นกลุ่ม 1-3 คู่ แต่ละกลุ่มมี 2 หรือ 3 ช่อ ตั้งตรง ยาว 7.5-15 ซม. ก้านช่อยาว
                                                                        0.3-1.8 ซม. แกนช่อมีขนสั้นนุ่ม ดอกมีเพศเดียวหรือสมบูรณ์เพศ ก้านดอกยาว
                    หูหมีขน                                             1.5-3 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม
                    Thottea tomentosa (Blume) Ding Hou                  เรียงซ้อนเหลื่อม ยาวประมาณ 1 มม. โคนมีขน กลีบดอกรูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ
                                                                        ยาว 1-2 มม. เกสรเพศผู้ 8-10 อัน เรียง 2 วง ก้านชูอับเรณูยาวกว่ากลีบดอก
                      ชื่อพ้อง Ceramium tomentosum Blume                เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกจักเป็นพู รังไข่มี 2 ช่อง พลาเซนตารอบแกนร่วม
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 50 ซม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-15 ซม.   เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ผลแห้งแตกตาม
                    ปลายแหลม แหลมยาว หรือมน แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่มหนาแน่น โคนรูปลิ่ม   รอยประสาน ยาว 2-6 มม. เปลือกสีแดง มีหลายเมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 0.8 มม.
                    กลม หรือรูปหัวใจ เบี้ยวเล็กน้อย ก้านใบยาว 4-7 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ   ปลายมีกระจุกขนทั้งสองด้าน ขนยาวประมาณ 2 มม.
                    ออกใกล้โคนต้น ช่อยาว 5-9 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาว 4-5 มม. ติดทน ก้านดอก  พบในภูมิภาคมาเลเซีย และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ป่าฮาลา-บาลา จังหวัด
                    ยาว 6-8 มม. ดอกสีน�้าตาลแดงหรืออมเหลือง รูปถ้วย เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มม.   ยะลา และนราธิวาส ขึ้นตามที่โล่งบนยอดเขา ความสูง 250-1500 เมตร
                    แยกเป็น 3 กลีบ แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง บานออก จานฐานดอกรูปถ้วยแนบติด
                    หลอดกลีบ เกสรเพศผู้ 6 อัน เรียงวงเดียว อับเรณูยาวประมาณ 2 มม. เส้าเกสร  สกุล Weinmannia L. มีประมาณ 150 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน มาดากัสการ์
                    ยาวประมาณ 2.5 มม. ยอดเกสรจัก 3 พู เรียวยาว ปลายมีขนรูปตะขอ ผลเรียว   ภูมิภาคมาเลเซีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตาม
                    ยาว 3.5-5 ซม. มีสันเป็นสี่เหลี่ยม สีน�้าตาลด�าหรือม่วง   นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Johann Wilhelm Weinmann (1683-1741)
                       พบที่อินเดีย หมู่เกาะอันดามัน บังกลาเทศ พม่า เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย
                    ในไทยพบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ   เอกสารอ้างอิง
                                                                           Hopkins, H.C.F. (2008). Cunoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(2): 107-110.
                    ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 200 เมตร            Whitmore, T.C. (1972). Cunoniaceae. Tree Flora of Malaya Vol. 1: 179-180.

                                                                                                                    467






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   467                                                                 3/1/16   6:31 PM
   482   483   484   485   486   487   488   489   490   491   492