Page 490 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 490
เหลืองชัชวาล
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
เหลืองดอย
Hypericum wightianum Wall ex Wight & Arn.
วงศ์ Hypericaceae
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. แตกกิ่งสั้น ๆ ใบรูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ ยาว 1-3 ซม.
ปลายส่วนมากกลม โคนกลมหรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบสั้น
หรือไร้ก้าน ช่อดอกมีหลายดอก ใบประดับรูปไข่ แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
เหยื่อกุรัมน้อย: ใบเรียวแคบ กลีบเลี้ยงคู่ในรูปแถบ เดือยม้วนงอ กลีบปีกคู่นอกยาวกว่ากลีบคู่ใน (ภาพ: cultivated - RP) ขนาดเล็ก ขอบจักมีขนครุย ก้านดอกสั้น ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม.
ตาดอกรูปรี กลีบเลี้ยงรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-6 มม. ขอบจักชายครุย มีติ่ง
เป็นขนต่อม เส้นกลีบ 3-5 เส้น มีต่อมกระจาย กลีบดอกรูปรีหรือรูปขอบขนาน
ยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 7-11 อัน แยกเป็น 3 มัด ยาว 2.5-4 มม. รังไข่รูปไข่กว้าง
ก้านเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ผลรูปไข่กว้าง ยาว 3-6 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
บัวทอง, สกุล)
พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และภาคเหนือของไทยที่
เชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งหรือชายป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 2500 เมตร คล้ายกับ
ละอองทอง H. japonicum Thunb. ที่ก้านเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก จ�านวน
เกสรเพศผู้ไม่มาก แต่ขอบกลีบเลี้ยงเรียบและไม่มีต่อม
เหยื่อเลียงผา: ล�าต้นอวบน�้า แตกกิ่งหนาแน่น ขอบจักฟันเลื่อย ปลายมีต่อม โคนกลีบดอกด้านในมีปื้นเป็นริ้วสีเหลือง
หรือแดง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi) เอกสารอ้างอิง
Li, X.W. and N. Robson. (2007). Clusiaceae (Hypericum). In Flora of China Vol.
เหลืองชัชวาล 13: 25, 34.
Dolichandra unguis-cati (L.) L. G. Lohmann
วงศ์ Bignoniaceae
ชื่อพ้อง Bignonia unguis-cati L., Macfadyena unguis-cati (L.) A. H. Gentry
ไม้เถา ยาวได้ถึง 15 ม. มีรากตามกิ่ง ใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ใบปลาย
เปลี่ยนรูปเป็นมือเกาะแยก 3 แฉก รูปตะขอ ยาว 0.5-1 ซม. ก้านใบประกอบยาว
1-4 ซม. ใบย่อยรูปรี มี 2 ขนาด ใบเล็กยาว 1.5-3 ซม. ใบใหญ่ยาว 4-8 ซม.
ปลายแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง หรือเว้าตื้น ๆ แผ่นใบบาง ขอบเรียบ เส้นโคนใบข้างละ
1 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 2 ซม. ในใบใหญ่ ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ
มีหนึ่งหรือหลายดอก ช่อยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 5-6 มม. คล้ายกาบ เหลืองดอย: ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน ขอบกลีบเลี้ยงจักชายครุย มีติ่งเป็นขนต่อม (ภาพซ้าย: ดอยอินทนนท์
ปลายจักมน 2 แฉก ตื้น ๆ หรือเรียบ ดอกรูปแตร สีเหลือง มีเส้นกลางกลีบและ เชียงใหม่ - RP); ละอองทอง: ขอบกลีบเลี้ยงเรียบและไม่มีต่อม (ภาพขวา: วัดจันทร์ เชียงใหม่ - RP)
ด้านข้างสีส้มเป็นแนวจรดโคนหลอดด้านใน หลอดกลีบดอกยาว 4-5 ซม. กลีบรูปรี
กลีบบน 2 กลีบ ยาว 1.5-2 ซม. กลีบล่าง 3 กลีบ ยาวกว่ากลีบบน เกสรเพศผู้อันสั้น เหลืองปรีดียาธร
2 อัน ยาว 2 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบดอกเหนือจุดคอด ยาว 1.5-2 ซม. ใต้จุดติดมีขน Tabebuia aurea (Silva Manso) Benth. & Hook. f. ex S. Moore
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันขนาดเล็กติดระหว่างอันสั้น ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้ วงศ์ Bignoniaceae
อันยาวเล็กน้อย ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง ผลแห้งแตก แบน รูปแถบ ชื่อพ้อง Bignonia aurea Silva Manso, Tabebuia argentea (Bureau & K.
ส่วนมากยาว 25-100 ซม. หรือยาวกว่านี้ เมล็ดบาง ขอบมีปีกบาง ๆ
Schum.) Britton
มีถิ่นก�าเนิดในเม็กซิโก เวสต์อินดีส และอาร์เจนตินา เป็นไม้ประดับทั่วไป ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. เปลือกหนาเป็นคอร์ก ใบรูปฝ่ามือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย
5-9 ใบ ก้านใบประกอบยาว 4-9 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว
สกุล Dolichandra Cham. มี 8 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ 1-14 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนรูปลิ่มกว้าง มน หรือเว้าตื้น แผ่นใบหนา มีเกล็ด
ในไทยพบเป็นไม้ประดับชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dolichos” ยาว สีเงินรูปโล่ทั้งสองด้าน ก้านใบย่อยยาว 1-5 ซม. ด้านบนเป็นสันคมทั้งสองข้าง
และ “andros” เพศผู้ ตามลักษณะเกสรเพศผู้
ใบคู่ล่างขนาดเล็ก โคนสอบเรียว ก้านสั้น ใบอ่อนสีน�้าตาลเข้ม ช่อดอกแบบช่อกระจุก
เอกสารอ้างอิง แยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงรูประฆัง หนา ยาว 0.8-1.7 ซม. แยก 2 แฉก
Fonseca, L.H., S.M. Cabral, M. de Fátima Agra and L.G. Lohmann. (2015). ตื้น ๆ ด้านนอกมีเกล็ด ดอกสีเหลืองรูปแตร ยาวได้ถึง 8 ซม. ปลายแยก 5 กลีบ
Taxonomic updates in Dolichandra Cham. (Bignonieae, Bignoniaceae) รูปกลม เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน ไม่ยื่นพ้นปากหลอด เกสรเพศผู้เป็นหมัน
PhytoKeys 46: 35-43. doi: 10.3897/phytokeys.46.8421 1 อัน รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียไม่ยื่นพ้นปากหลอด ยอดเกสรแยก 2 แฉก
Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae (Macfadyena unguis-cati). In Flora of Thailand
Vol. 5(1): 63. ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก รูปขอบขนาน ยาว 8-15 ซม. ไม่มีสัน มีเกล็ดปกคลุม
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum หนาแน่น เมล็ดบาง มีปีกบางทั้งสองด้าน
Press, Honolulu, Hawai`i. มีถิ่นก�าเนิดในบราซิล นิยมปลูกเป็นไม้ประดับริมถนนในเขตร้อน
สกุล Tabebuia Gomes ex DC. มีประมาณ 100 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน
บางครั้งแยกเป็นสกุล Handroanthus และ Roseodendron ในไทยพบเป็นไม้ประดับ
หลายชนิด เช่น แตรชมพู T. pallida (Lindl.) Miers ชมพูพันธ์ุทิพย์ T. rosea
(Bertol.) Bertero ex A. DC. กลุ่มพวกเหลืองอินเดีย T. chrysantha (Jacq.) G.
Nicholson หรือ T. ochracea (Cham.) Standl. subsp. neochrysantha (A. H.
Gentry) A. H. Gentry และ T. chrysotricha (Mart. ex DC.) Standl. เป็นต้น ชื่อสกุล
มาจากชื่อพื้นเมืองในบราซิล “tabebuia” หรือ “tabebuya” หมายถึง ต้นไม้ที่มีมด
เอกสารอ้างอิง
เหลืองชัชวาล: ใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ใบปลายเปลี่ยนรูปเป็นมือเกาะแยก 3 แฉก ปลายรูปตะขอ ช่อดอกแบบ Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
ช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ ดอกรูปแตร กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ (ภาพ: cultivated - RP) Press, Honolulu, Hawai`i.
470
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 470 3/1/16 6:32 PM