Page 493 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 493

พบที่ลาว และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยที่นครพนม ขึ้นตามริมแม่น�้า   เอกสารอ้างอิง   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  โหราผักกูด
                    ความสูง 100-200 เมตร                                   Thiv, M. (2003). A taxonomic revison of Canscora, Cracosna, Duplipetala, Hoppea,
                                                                              Microphium, Phyllocyclus and Schinziella (Gentianaceae-Canscorinae).
                      เอกสารอ้างอิง                                           Blumea 46: 25-27.
                       Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.   Ubolcholaket, A. (1987). Gentianaceae (Canscora). In Flora of Thailand. Vol.
                                                                              5(1): 73-78.
                          In Flora of Thailand Vol. 4(1): 46.













                      แหะ: ใบประกอบแบบมีใบย่อยคู่เดียว เบี้ยว ปลายยาวคล้ายหาง ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ฝักแบน ผิวเรียบ
                    ปลายเป็นจะงอยด้านข้าง (ภาพ: แม่น�้าสงคราม นครพนม - PK)
                    โหมหัด, สกุล
                    Duplipetala Thiv
                    วงศ์ Gentianaceae
                       ไม้ล้มลุก ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง   โหมหัด: หลอดกลีบเลี้ยงมีสัน 6 สัน (ภาพบนซ้าย: พบพระ ตาก - RP; ภาพบนขวา: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - PK);
                    กลีบเลี้ยงมี 3 หรือ 6 กลีบ โป่งพอง มีสันตื้น ๆ ผิวเป็นลายร่างแห ดอกรูปแตร   โหมหัดเขา: ใบประดับรูปไข่ ติดรอบข้อ หลอดกลีบเลี้ยงมีสันตื้น ๆ 3 สัน (ภาพล่าง: เขาประ-บางคราม กระบี่ - RP)
                    มี 5-6 กลีบ กลีบดอกสั้นกว่าหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบดอก   โหราผักกูด
                    ติดภายในหลอดกลีบ บางครั้งยาวไม่เท่ากัน มี 2 คาร์เพล พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ
                    เกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรแยกเป็น 2 พู ผลแห้งแตกตามแนวประสาน   Microlepia speluncae (L.) T. Moore
                    เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก                             วงศ์ Dennstaedtiaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Polypodium speluncae L.
                       สกุล Duplipetala แยกมาจากสกุลสามยอด Canscora เช่นเดียวกับสกุลประกายฉัตร    เฟินขึ้นบนพื้นดิน เหง้าสีน�้าตาลเข้ม ทอดขนาน เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-7 มม.
                       Phyllocyclus กลีบดอกมี 5-6 กลีบ ส่วนสกุล Phyllocyclus ใบติดรอบข้อ (perfoliate)   มีขนสั้นนุ่มตามเหง้า ก้านใบ แกนกลางใบประกอบ และแผ่นใบด้านล่าง ใบประกอบ
                       มีเพียง 2 ชนิด พบที่คาบสมุทรมลายู และไทย ชื่อสกุลหมายถึงกลีบดอกเป็น 2 เท่า  3-4 ชั้น ก้านใบยาว 30-80 ซม. ด้านบนมีร่องตามยาว แผ่นใบกว้าง 0.5-1 ม.
                       ของกลีบเลี้ยงในชนิด D. pentanthera (C. B. Clarke) Thiv  ยาว 0.7-1 ม. ใบประกอบย่อยมีข้างละ 10-20 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนาน
                                                                        แกมรูปใบหอก กว้าง 7-20 ซม. ยาว 20-65 ซม. ก้านยาว 1-1.5 ซม. ใบประกอบย่อย
                    โหมหัด                                              ชั้นที่สองมี 20-30 คู่ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 1.7-3 ซม. ยาว 5-15 ซม.
                    Duplipetala hexagona (Kerr) Thiv                    ใบย่อยรูปขอบขนานยาว 1.5-2 ซม. ปลายมน โคนรูปลิ่ม แผ่เป็นครีบ ด้านบนมีติ่ง
                      ชื่อพ้อง Canscora hexagona Kerr                   ขอบแฉกลึกรูปขอบขนานหรือรูปใบพาย ปลายมนหรือตัด จักซี่ฟัน เส้นแขนงใบ
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ล�าต้นมีสันเป็นเหลี่ยมตื้น ๆ ใบรูปไข่หรือแกมรูปใบหอก   แยกสาขาเป็นคู่ กลุ่มอับสปอร์เกิดต่อเนื่องที่ปลายเส้นแขนงใบใกล้ขอบใบ เยื่อคลุม
                                                                        กลุ่มอับสปอร์รูปถ้วยขนาดเล็ก มีขนปกคลุม
                    ยาว 1-7 มม. ปลายแหลม แผ่นใบบาง ก้านใบสั้นมาก ใบประดับรูปใบหอก ยาว
                    1-5 มม. ช่อดอกสั้น มี 3-8 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว   พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
                    6-8 มม. มีสัน 6 สัน คล้ายปีก กว้างประมาณ 1 มม. มีต่อมประปราย ปลายแยก  พบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
                    เป็นแฉกสั้น ๆ 6 แฉก ยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีขาว หลอดกลีบยาว 7-8 มม.   สกุล Microlepia C. Presl มี 50-60 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทย
                    ปลายแยกเป็น 6 แฉก หรือ 5 แฉก แฉกยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ยาว 2-4 มม.   มี 12 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “mikros” ขนาดเล็ก และ “lepis” เกล็ด
                    ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ถึง 4 มม. ผลรูปขอบขนานยาว 3-4 ซม.  ตามลักษณะเยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์รูปถ้วยขนาดเล็ก

                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบกระจายทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ตาก ภาคตะวันออก
                    ที่นครราชสีมา และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามที่โล่งชายป่า หรือ  เอกสารอ้างอิง
                                                                           Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                    บนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร                    Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                                                                           Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Dennstaedtiaceae. In Flora of Thailand Vol.
                                                                              3(1): 111-124.
                    โหมหัดเขา                                              Yuehong, Y., Q. Xinping and S. Serizawa. (2013). Dennstaedtiaceae (Microlepia).
                    Duplipetala pentanthera (C. B. Clarke) Thiv               In Flora of China Vol. 2-3: 166.
                      ชื่อพ้อง Canscora pentanthera C. B. Clarke
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 60 ซม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปใบหอก ยาว 3-10 ซม. ก้านใบ
                    ยาว 1-4 ซม. ใบประดับรูปไข่ ติดรอบข้อ ยาว 0.5-1.3 ซม. ช่อดอกมีได้ถึง 20 ดอก
                    ก้านดอกยาว 2-3 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1-1.2 ซม. มีสันตื้น ๆ 3 สัน คล้ายปีก
                    กว้างประมาณ 1.5 มม. ปลายแยกเป็นแฉก 3 แฉก ยาวประมาณ 2 มม. ดอกสีขาว
                    หลอดกลีบยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยกเป็น 5-6 แฉก ยาวประมาณ 3 มม. เกสรเพศผู้
                    ยาว 2-5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ถึง 7 มม. ผลรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6 มม.
                       พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นบน
                    เขาหินปูนในป่าดิบชื้น ริมล�าธาร หรือตามสันเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร  โหราผักกูด: ใบประกอบ 3-4 ชั้น กลุ่มอับสปอร์เกิดต่อเนื่องที่ปลายเส้นแขนงใบใกล้ขอบใบ (ภาพ: บางกะม่า ราชบุรี - PK)


                                                                                                                    473






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   473                                                                 3/1/16   6:33 PM
   488   489   490   491   492   493   494   495   496   497   498